ผู้ใช้:ยุทธนาสาระขันธ์/ทดลองเขียน2

ไทยลีก แก้

แชมป์ไทยลีกของบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด แก้

  • PPTV[1]
  • GOAL[2]
  • ไทยรัฐกับ quote ของเนวิน ชิดชอบ[3]
  • บทสรุุปที่เป็นแชมป์ไทยลีก สมัยที่ 8 ไม่ใช่ 9

การย้ายทีมของนักเตะไทยลีก แก้

นักเตะ จากสโมสร สู่สโมสร
สหรัฐ กันยะโรจน์ เมืองทอง ยูไนเต็ด พีที ประจวบ
สุพร ปีนะกาตาโพธิ์ เมืองทอง ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
วรชิต กนิตศรีบำเพ็ญ บีจี ปทุม ยูไนเต็ด การท่าเรือ
ปฐมพล เจริญรัตนาภิรมย์ บีจี ปทุม ยูไนเต็ด การท่าเรือ

รายชื่อสโมสรที่เล่นในไทยลีก แก้

สโมสร ที่ตั้ง จำนวนฤดูกาลที่
อยู่ในลีกทั้งหมด
เลื่อนชั้นครั้งล่าสุด ตกชั้นครั้งล่าสุด จำนวนฤดูกาล
ที่ไม่ได้เข้าร่วม
ฤดูกาล อันดับฤดูกาลล่าสุดที่เล่นในไทยลีก อันดับสูงสุดในลีก
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ 16 2547/48[4] ยังไม่เคยตกชั้น 8 2547– อันดับ 2 อันดับ 1
เมืองทอง ยูไนเต็ด ปากเกร็ด 12 2552 ยังไม่เคยตกชั้น 12 2552– อันดับ 5 อันดับ 1
การท่าเรือ คลองเตย 22 2560[5] 2558 2 2539-2555
2557-2558
2560–
อันดับ 3 อันดับ 2
ชลบุรี เอฟซี ชลบุรี 15 2549 ยังไม่เคยตกชั้น 9 2549– อันดับ 7 อันดับ 1
โปลิศ เทโร หลักสี่ 23 2563 2561 1 2539–2561
2563–
ไทยลีก
อันดับ 15 (ตกชั้น)
อันดับ 1
เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย 10 2554 ยังไม่เคยตกชั้น 14 2554– อันดับ 1 อันดับ 1
แบงค็อก ยูไนเต็ด คลองหลวง 16 2556[6] 2553 9 2546–2553
2556–
อันดับ 4 อันดับ 1
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ธัญบุรี 11 2563 2561 13 2552–2561
2563–
ไทยลีก
อันดับ 14 (ตกชั้น)
อันดับ 3
ราชบุรี มิตรผล ราชบุรี 8 2556 ยังไม่เคยตกชั้น 16 2556– อันดับ 8 อันดับ 4
สุพรรณบุรี เอฟซี สุพรรณบุรี 10 2556 2550 14 2549–2550
2556–
อันดับ 14 อันดับ 3
นครราชสีมา มาสด้า เอฟซี นครราชสีมา 4 2558 ยังไม่เคยตกชั้น 18 2558– อันดับ 13 อันดับ 8
สุโขทัย เอฟซี สุโขทัย 5 2559 ยังไม่เคยตกชั้น 19 2559– อันดับ 12 อันดับ 7
พีที ประจวบ เอฟซี ประจวบคีรีขันธ์ 3 2561 ยังไม่เคยตกชั้น 21 2561– อันดับ 9 อันดับ 6
ตราด เอฟซี ตราด 2 2562 ยังไม่เคยตกชั้น 22 2562– อันดับ 10 อันดับ 10
สมุทรปราการ ซิตี้ สมุทรปราการ 2 2562 ยังไม่เคยตกชั้น 22 2562– อันดับ 6 อันดับ 6
ระยอง เอฟซี ระยอง 1 2563 ยังไม่เคยตกชั้น 23 2563–
เชียงใหม่ เอฟซี เชียงใหม่ 1 2562 2562 23 2562 ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
อาร์มี่ ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร 14 2539[7] 2559 8 2539–2542
2549–2551
2553–2559
ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
อันดับ 5
ราชนาวี สัตหีบ 14 2558[8] 2561 8 2539-2540
2543–2544
2546–2548
2550
2552-2554
2558–2561
ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
อันดับ 6
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ลำลูกกา 10 2561[9] 2561 12 2539-2547
2557
2561
ไทยลีก
อันดับ 19 (ตกชั้น)
อันดับ 1
ศรีสะเกษ เอฟซี ศรีสะเกษ 7 2553[10] 2560 15 2553–2555
2557–2560
ไทยลีก
อันดับ 17 (ตกชั้น)
อันดับ 6
ชัยนาท ฮอร์นบิล ชัยนาท 6 2561 2562 16 2555–2559
2561–2562
ไทยลีก
อันดับ 15 (ตกชั้น)
อันดับ 10
จัมปาศรี ยูไนเต็ด สมุทรปราการ 20 2541[11] 2560 2 2539
2541–2560
ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)
อันดับ 2
บีบีซียู เมืองนนทบุรี 12 2559[12] 2559[13] 10 2539-2547
2551–2552
2555
2559
ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)
อันดับ 1
เพื่อนตำรวจ กรุงเทพมหานคร 10 2553[14] 2557 12 2539-2540
2543–2544
2550
2553-2557
ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
อันดับ 7
สระบุรี เอฟซี สระบุรี 1 2558 ยังไม่เคยตกชั้น 21 2558 ไทยลีก
อันดับ 14 (ถอนทีม)
[15]
อันดับ 14
พัทยา ยูไนเต็ด บางละมุง 9 2559[16] 2556 13 2551-2556
2559–2561
ไทยลีก
อันดับ 8 (ขายทีม)
อันดับ 4
ทีโอที เอสซี หลักสี่ 17 2550[17] 2558 5 2539-2546
2548
2550-2558
ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)
อันดับ 2 (เพลย์ออฟ ที่ 3)
พีทีที ระยอง ระยอง 2 2562 2557 22 2557
2562
ไทยลีก
อันดับ 11 (ถอนทีม)
อันดับ 11
สงขลา ยูไนเต็ด สงขลา 3 2555[18] 2557 19 2555-2557 ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)
อันดับ 12
สมุทรสงคราม เอฟซี สมุทรสงคราม 7 2551 2557 15 2551-2557 ไทยลีก
อันดับ 20 (ตกชั้น)
อันดับ 7
ทีทีเอ็ม เอฟซี ลาดกระบัง 12 2544/45[19] 2555 10 2539
2544-2555
ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)
อันดับ 1
ศรีราชา เอฟซี ศรีราชา 2 2552 2554 20 2552
2554
ไทยลีก
อันดับ 17 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 14 (ตกชั้น)
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม 3 2550 2552 19 2550-2552 ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
อันดับ 9
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง มีนบุรี 3 2560 2560 19 2549-2550
2560
ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 14 (ตกชั้น)
ศุลกากร เอฟซี ลาดกระบัง 1 2551 2551 21 2551 ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
อาร์แบค บางกะปิ 6 2539[20] 2544/45 16 2539-2544 ไทยลีก
อันดับ 12 (ตกชั้น)
อันดับ 2 (เพลย์ออฟ ที่ 4)
ราชประชา กรุงเทพมหานคร 3 2539 2541 19 2539-2541 ไทยลีก
อันดับ 12 (ตกชั้น)
อันดับ 5
ราชวิถี กรุงเทพมหานคร 1 2539 2539 21 2539 ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 16 (ตกชั้น)
ธนาคารกสิกรไทย กรุงเทพมหานคร 5 2539 2543 17 2539-2543 อันดับ 3 อันดับ 1 (เพลย์ออฟ ที่ 3)
ธนาคารกรุงเทพ บางนา 12 2539 2551 10 2539-2551 ไทยลีก
อันดับ 14 (ตกชั้น)
อันดับ 3 (เพลย์ออฟ แชมป์)
ธนาคารกรุงไทย ปทุมวัน 11 2541 2551 11 2539
2541-2551
อันดับ 6 อันดับ 1
กรุงเทพคริสเตียน กรุงเทพมหานคร 1 2545/46 2545/46 21 2545/46 ไทยลีก
อันดับ 10 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 10 (ตกชั้น)
ไดสตาร์กรุงเทพ กรุงเทพมหานคร 2 2542[21] 2542 20 2539
2542
ไทยลีก
อันดับ 12 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 12 (ตกชั้น)
ธำรงไทยสโมสร กรุงเทพมหานคร 1 2539 2539 21 2539 ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)
อุบล ยูไนเต็ด อุบลราชธานี 2 2560 2561 20 2560–2561 ไทยลีก
อันดับ 17 (ตกชั้น)
อันดับ 10
ขอนแก่น เอฟซี ขอนแก่น 1 2554 2554 21 2554 ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)
ไทยลีก
อันดับ 18 (ตกชั้น)

อันดับสโมสรฟุตบอลไทยในเอเชีย แก้

ข้อมูล ณ วันที่ 15 มกราคม 2023[22]

อันดับ สโมสร หมายเหตุ
11 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด -4 อันดับ
26 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด -3 อันดับ
33 แบงค็อก ยูไนเต็ด -4 อันดับ
38 เมืองทอง  ยูไนเต็ด +8 อันดับ
62 การท่าเรือ +11 อันดับ
73 ชลบุรี -5 อันดับ
87 เชียงราย  ยูไนเต็ด +26 อันดับ

สถิติไร้พ่าย แก้

ชุดแข่งขันและผู้สนับสนุน แก้

สโมสร ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
พีที ประจวบ แกรนด์สปอร์ต
เกษตรศาสตร์ ซู๊ต
ระยอง วอริกซ์
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด แกรนด์สปอร์ต

ไทยลีก 2 แก้

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2564–65 แก้

พันธุ์นารายณ์ พันธุ์ศิริ จะเป็นผู้จัดการทีมบาโลชิสถาน วอร์ริเออร์ (Balochistan Warriors) ในลีกสูงสุดของประเทศปากีสถาน โดยก่อนหน้าเขาคุมชัยนาท ฮอร์นบิลในไทยลีก 2 ฤดูกาล 2566–67

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ระนอง   ดาเมียน เบลลอง ลาออก 2 เมษายน 2564 ก่อนเริ่มฤดูกาล   รอยเตอร์ โมไรร่า 27 เมษายน 2564
อุดรธานี   ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย ก่อนเริ่มฤดูกาล   เฟอร์นันโด ซาเลส 8 มิถุนายน 2564
ระนอง   รอยเตอร์ โมไรร่า แยกทาง 14 กรกฎาคม 2564 ก่อนเริ่มฤดูกาล

ประวัติสโมสรสมุทรปราการ ซิตี้ แก้

สโมสรฟุตบอลสมุทรปราการซิตี้ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรก ภายใต้ชื่อ สโมสรสุขาภิบาลตำบลบางพระ เมื่อปี พ.ศ. 2530 ส่งทีมฟุตบอลเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ประเภท ง. เป็นครั้งแรก และได้แข่งขันจนสามารถเลื่อนขึ้นมาเล่นในระดับ ประเภท ค. และประเภท ข. ตามลำดับ และในปี พ.ศ. 2542 เปลี่ยนชื่อทีมเป็น สโมสรฟุตบอลเทศบาลตำบลบางพระ ตามการยกระดับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ปี พ.ศ. 2544 สโมสรฟุตบอลเทศบาลตำบลบางพระ คว้าแชมป์ถ้วยพระราชทาน ประเภท ข. ได้สำเร็จ พร้อมกับได้ก้าวขึ้นมาเล่นในลีกดิวิชั่น 1 ของเมืองไทย ต่อมาเครื่องดื่มโค้กได้เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนหลักจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น สโมสรฟุตบอลโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ เพื่อลงเล่นในดิวิชั่น 1 และประสบความสำเร็จเมื่อฤดูกาล 2550 ทีมจบฤดูกาลด้วยตำแหน่งรองแชมป์ของสาย A และได้อันดับ 3 ในรอบสุดท้าย จึงได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกได้สำเร็จ ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2551 สโมสรฟุตบอลโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ ได้เล่นในลีกสูงสุดเป็นฤดูกาลแรก และจบฤดูกาลด้วยอันดับ 11 จากผลงาน แข่ง 30 นัด ชนะ 8 เสมอ 11 แพ้ 11 ได้ 24 เสีย 27 มี 35 คะแนน

ปี พ.ศ. 2552 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น สโมสรพัทยา ยูไนเต็ด และจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามข้อกำหนดของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย พร้อมทั้งเปลี่ยนสนามเหย้าของทีมจากสนามโค้ก - จำลอง เสมอวงษ์ เป็นสนามเทศบาลหนองปรือ ได้โลดแลนอยู่บนลีกสูงสุดอีก 5 ฤดูกาลให้ช่วงปี พ.ศ. 2552 ถึง 2556 โดยในปี 2554 ทีมภายใต้การคุมทีมของ "โค้ชหนุ่ย" เฉลิมวุฒิ สง่าพล สามารถทำผลงานได้ดีที่สุดคือการจบอันดับที่ 4 ด้วยผลงาน แข่ง 30 นัด ชนะ 14 เสมอ 11 แพ้ 9 ได้ 38 เสีย 27 มี 53 แต้ม ซึ่งเป็นการจบอันดับสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ของสโมสรฯ

ก่อนที่จะตกชั้นในปี 2556 ทีมภายใต้การคุมทัพของ ทรงยศ กลิ่นศรีสุข จะกระเด็นตกชั้นจากลีกสูงสุด หลังทำผลงานได้จบอันดับที่ 17 ด้วยผลงาน แข่ง 32 นัด ชนะ 9 เสมอ 2 แพ้ 21 ได้ 39 เสีย 66 มีเพียงแค่ 29 คะแนน

หลังจากตกชั้นและต้องลงมาเล่นในศึกยามาฮ่าลีกวัน (ไทยลีก 2) เป็นเวลา 2 ฤดูกาล ในปี 2557 และปี 2558 ซึ่งมี "โค้ชอั๋น" สุรพงษ์ คงเทพ คุมทีมร่วมกับ ลิม จอง เฮือน ชาวเกาหลีใต้ พร้อมกับพาทีมประสบความสำเร็จ คว้า รองแชมป์ ศึกยามาฮ่าลีกวัน พาได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยพรีเมียร์ลีก ในปี 2559 ได้อีกครั้ง

ปี พ.ศ. 2559 "ชลบุรี เอฟซี"เจ้าของสิทธิ์ทีม "พัทยา ยูไนเต็ด" ในเวลานั้นได้การประกาศขายทีมเป็นมูลค่า 60 ล้านบาท ทำให้กลุ่มทุนเกียรติธานี (บริษัท เค สปอร์ต จำกัด) ได้เข้าเทคโอเวอร์สโมสรฯ พร้อมกับเดินหน้าพัฒนาทีมอย่างต่อเนื่อง ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2562 จะได้ย้านถิ่นฐานจาก เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี มาอยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการ พร้อมเปลี่ยนชื่อเป็น "สมุทรปราการซิตี้" และใช้สนามกีฬา กกท. เคหะบางพลี จ.สมุทปราการ (สมุทรปราการ สเตเดี้ยม) เป็นสนามเหย้า ในปัจจุบัน

ประวัติสโมสรสมุทรปราการ ซิตี้ในวิกิ แก้

ก่อตั้งทีม แก้

สโมสรก่อตั้งขึ้นในช่วงปลายฤดูกาล 2561 เจ้าของสโมสรได้ตัดสินใจทำการเปลี่ยนชื่อพัทยา ยูไนเต็ด เป็นสมุทรปราการ ซิตี้ และย้ายสนามเหย้าไปที่สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย บางพลี[23]

เริ่มต้นในไทยลีก แก้

ก่อนเริ่มฤดูกาล 2562 สโมสรได้แต่งตั้งเท็ตสึยะ มูรายามะเป็นผู้อำนวยการสโมสร[24] โดยเขาจะได้ทำงานร่วมกับหัวหน้าผู้ฝึกสอนอย่างสุรพงษ์ คงเทพในฤดูกาลแรกในไทยลีก ซึ่งในฤดูกาลนั้น สโมสรทำผลงานได้ดีจนจบอันดับที่ 6 ของตาราง[25]

สโมสรได้แต่งตั้งมาซาตาดะ อิชิอิ[26] เป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนสำหรับการคุมทีมในฤดูกาล 2563–64 โดยก่อนเปิดฤดูกาล สโมสรได้ปล่อยตัวผู้เล่นหลายราย อาทิ อิบซง แมลู, คิม พย็อง-แร, บวร ตาปลา, ภูมินทร์ แก้วตา และวรนาถ ทองเครือ และได้ซื้อตัวผู้เล่นใหม่ อาทิ ทัตสึยะ ซากาอิ จากมอนเตดิโอ ยามางาตะ, ยูโตะ โอโนะ จากกิฟุ และเปดรู ฌูนีโยร์ ผู้เล่นชาวบราซิล[27][28]

สโมสรประเดิมไทยลีก ฤดูกาล 2563–64 ด้วยการเสมอกับแชมป์เก่าอย่างสิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 1–1 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563[29] แต่หลังจากนั้น พวกเขาแพ้ติดต่อกันถึง 3 นัด ก่อนที่จะชนะนัดแรกในลีกเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นการแข่งขันนัดที่ 5 ที่ทีมเปิดบ้านเอาชนะระยองไปได้ 1–0[30] หลังจบการแข่งขันนัดที่ 10 ทีมอยู่ในอันดับที่ 12 ของตาราง

หลังจากช่วงเวลาอันย่ำแย่ ทีมกลับมาชนะรวดอีก 3 นัด ประกอบด้วย การบุกชนะบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดที่ช้างอารีนา 1–3[31] และเอาชนะชลบุรีและตราด ทำให้ทีมกระโดดขึ้นไปอยู่อันดับที่ 6 ของตารางหลังจบเลกแรก[32] และในเกมแรกของเลกที่สอง ทีมสามารถเอาชนะทีมยักษ์ใหญ่ของไทยลีกอย่างการท่าเรือไปได้ 6–3 เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2563[33][34]

สมุทรปราการ ซิตี้ สามารถเข้าถึงรอบที่สามของการแข่งขันช้าง เอฟเอคัพ 2563–64 ก่อนที่จะตกรอบด้วยการพ่ายแพ้ต่อเมืองทอง ยูไนเต็ด 1–0 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564[35] ต่อมาในไทยลีก ฤดูกาล 2564–65 สโมสรทำผลงานได้อย่างย่ำแย่เนื่องจากเสียผู้เล่นตัวหลักหลายราย โดยหลังจบเลกแรก อิชิอิได้แยกทางกับทีมและย้ายไปคุมบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สโมสรสมุทรปราการ ซิตี้ จึงได้แต่งตั้งยาซูชิ โยชิดะ อดีตผู้ฝึกสอนทีมชาติญี่ปุ่นรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปีและทีมหญิงของอูราวะ เรดไดมอนส์ เข้ามาคุมทีมต่อ แต่สุดท้าย ทีมจบอันดับที่ 15 ต้องตกชั้นลงไปเล่นไทยลีก 2

ไทยลีก 3 แก้

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 รอบแชมเปี้ยนส์ลีก แก้

โซนตอนบน แก้

ลำดับ สโมสร โซน วันที่ผ่านเข้ารอบ
1
2
3
4
5
6

โซนตอนล่าง แก้

ลำดับ สโมสร โซน วันที่ผ่านเข้ารอบ
1
2
3
4
5
6

ฤดูกาล 2020-2021 แก้

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประกาศให้ฟุตบอลลีกอาชีพ รายการไทยลีก 1-4 รวมถึงฟุตบอลถ้วยระดับสโมสร เลื่อนการแข่งขันในฤดูกาล 2563 ตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม - 17 เมษายน 2563 เพื่อสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (โควิด 19) ตามมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันของกระทรวงสาธารณสุข และเพื่อความปลอดภัยต่อประชาชนโดยทั่วไป ตลอดจนบุคลากรทางด้านกีฬาฟุตบอล โดยจะกลับมาจัดการแข่งขันใหม่ในวันที่ 18 เมษายน 2563 ต่อมาสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้มีประกาศเลื่อนวันแข่งขันออกไปเป็นวันที่ 2 พฤษภาคม 2563 อันเนื่องมาจากให้สอดคล้องกับ พรก.ฉุกเฉินที่รัฐบาลประกาศใช้ระหว่างวันที่ 26 มีนาคม - 30 เมษายน 2563 และในเดือนเมษายน 2563 ได้มีการประกาศเลื่อนวันแข่งขันออกไปอีกครั้งเป็นเดือนกันยายน 2563 สำหรับการเตะในนัดที่ 5 ของไทยลีก 1 และไทยลีก 2 โดยทีมที่ได้อันดับ 1-4 ในเลกแรก (แข่งขันทีมละ 30 นัด) จะได้สิทธิแข่งขันฟุตบอลเอเอฟซีแชมเปี้ยนส์ลีก 2021 ส่วนการแข่งขันจะไปสิ้นสุดฤดูกาลในเดือน พ.ค. 2564

สถิติการยิงประตู แก้

นักเตะที่สามารถยิงประตูได้เกิน 100 ประตูในไทยลีก มีทั้งหมด 7 คนเรียงลำดับจากคนแรกถึงคนล่าสุด คือ ศรายุทธ ชัยคำดี, เคลย์ตง ซิลวา, พิภพ อ่อนโม้, ธีรศิลป์ แดงดา, เอเบร์ชี เฟร์นังจิส, จีโอกู และ ดราแกน บอสโควิช โดยนักเตะผู้ทำประตูได้สูงสุด คือ เอเบร์ชี เฟร์นังจิส (150 ประตู)

มาซาตาดะ อิชิอิ แก้

มาซาตาดะ อิชิอิ เคยได้แชมป์เจลีกในปี 1996 สมัยเป็นนักเตะให้กับคาชิมะ แอนต์เลอส์ จนเมื่อเขามาเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนให้กับสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ก็สามารถทำทีมที่คว้าแชมป์ไทยลีกได้เช่นเดียวกัน ถือว่าได้แชมป์ฟุตบอลในลีกสูงสุดใน 2 ประเทศ (ญี่ปุ่น/ไทย) โดยครั้งแรกในฐานะนักเตะและครั้งที่สองในฐานะหัวหน้าผู้ฝึกสอน

สถาพร แดงสี แก้

สถาพร แดงสี วัย 35 ปี ที่ถูกทาง Muangthong United FC. คว้าตัวมาในเลกสอง หายหน้าหายตาจากวงการฟุตบอลอาชีพไปกว่าเกือบปี

แบ็กซ้ายจาก อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มต้นการเล่นฟุตบอลอาชีพกับ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ที่โลดแล่นอยู่ในดิวิชั่น 2

ก่อนจะยกระดับไปสู่สโมสระดับที่สูงขึ้น ทั้ง ตราด, นครราชสีมา มาสด้า ไปจนถึงทีมยักษ์ใหญ่อย่าง บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด, การท่าเรือ เอฟซี, ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด และ หนองบัว พิชญ

พร้อมทั้งก้าวขึ้นไปติดทีมชาติชุดใหญ่เป็นครั้งแรกในยุค อากิระ นิชิโนะ เมื่อช่วงปี 2021

แต่แล้ว หลังจาก รีโว่ ไทยลีก ซีซั่น 2022-23 หนองบัว พิชญ ต้นสังกัดของเขาต้องตกชั้นสู่ไทยลีก 2 ทำให้สถาพรต้องแยกทางกับ "พญาไก่ชน" และจำเป็นต้องหันหลังให้กับวงการฟุตบอลอาชีพ เนื่องจากภรรยาอันเป็นที่รักป่วยโรคร้าย ทำให้เจ้าตัวตัดสินใจกลับมาดูแลครอบครัว

สโมสรที่ขอพักทีม แก้

ในฤดูกาล 2563 มี 3 สโมสรที่แจ้งขอพักทีมประกอบด้วย สโมสรฟุตบอลพีทีที ระยอง ในไทยลีก, สโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้า และ สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด 2 ทีมในไทยลีก 2 ขณะที่ สโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ที่ได้ขายสิทธิไปให้แก่สโมสรฟุตบอลอุทัยธานี เป็นการปิดตำนานทีมที่มีอายุยืนยาวกว่า 73 ปี

ทีมฟุตบอลจากเหล่าทัพ แก้

บทสรุปหลังสิ้นสุดฟุตบอลไทยในฤดูกาล 2564-65 ของทีมจาก 4 เหล่าทัพ เป็นดังนี้ ไทยลีก: โปลิศ เทโร
ไทยลีก 2: ไม่มีทีม
ไทยลีก 3:

  1. โซนกรุงเทพและปริมณฑล: ทหารบก เอฟซี, ทหารอากาศ เอฟซี (ชนะเลิศไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2562)
  2. โซนตะวันออก: ราชนาวี, นาวิกโยธิน ยูเรก้า, กองเรือยุทธการ, หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ. เอฟซี)

ส่วนสโมสรหลักของเหล่าทัพในอดีตที่ยุบทีมไปแล้ว คือ อาร์มี่ ยูไนเต็ด และ แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด (ขายสิทธิให้แก่อุทัยธานี)

ไมเคิล เคน แก้

ไมเคิล เคน (Michael Cain) เคยเป็นนักเตะทีมสโมสรฟุตบอลบ้านค่าย ยูไนเต็ดในไทยลีก 4

สโมสรในจังหวัดสมุทรปราการที่มีชื่อใกล้เคียงกัน แก้

  1. สโมสรฟุตบอลสมุทรปราการ ซิตี้
  2. สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ หรือ สมุทรปราการ เอฟซี
  3. สโมสรฟุตบอลสมุทรปราการ ยูไนเต็ด อยู่ในไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก โซนปริมณฑล

ลีโอ ปรีซีซั่น คัพ แก้

ลีโอ ปรีซีซั่น คัพ 2020 (จัดเป็นครั้งที่ 4) โดยมี 1 สโมสรจากญี่ปุ่น เซเรซโซ โอซากะ (อันดับ 5 เจลีก) และ 3 สโมสรอาเซียน คือ แทมปิเนส โรเวอร์ส, ลาว โตโยต้า เอฟซี และ พนมเปญ คราวน์ เอฟซี เข้าแข่งขันกับ 12 สโมสรจากไทย ได้แก่

  1. เชียงราย ยูไนเต็ด - แชมป์ไทยลีก 1 (แชมป์รายการนี้เมื่อปีที่แล้ว)
  2. บีจี ปทุม ยูไนเต็ด - แชมป์ไทยลีก 2
  3. การท่าเรือ เอฟซี - แชมป์เอฟเอคัพ
  4. ประจวบ เอฟซี - แชมป์ลีกคัพ
  5. เมืองทอง ยูไนเต็ด (แชมป์รายการนี้ 2 สมัย)
  6. นครราชสีมา เอฟซี
  7. ระยอง เอฟซี
  8. ชัยนาท ฮอร์นบิล เอฟซี (ไทยลีก 2)
  9. เชียงใหม่ เอฟซี (ไทยลีก 2)
  10. อุดรธานี เอฟซี (ไทยลีก 2)
  11. ขอนแก่น เอฟซี (ไทยลีก 2)
  12. หนองบัว พิชญ เอฟซี (ไทยลีก 2)

รอบชิงชนะเลิศ การท่าเรือ เอฟซี - เมืองทอง ยูไนเต็ด ผลการแข่งขัน 2-1 (การท่าเรือได้แชมป์สมัยแรก)

ลีโอ ปรีซีซั่น คัพ 2019 ร่วมกับ 4 สโมสรจากอาเซียน คือ (ฮานอย เอฟซี, แทมปิเนส โรเวอร์ส, ลาว โตโยต้า เอฟซี และ พนมเปญ คราวน์ เอฟซี) กับ 12 สโมสรจากไทย ได้แก่

  1. การท่าเรือ เอฟซี (3)
  2. เมืองทอง ยูไนเต็ด (4)*
  3. เชียงราย ยูไนเต็ด (5)*
  4. พีที ประจวบ (6)
  5. นครราชสีมา เอฟซี (7)*
  6. หนองบัว พิชญ เอฟซี
  7. อุดรธานี เอฟซี
  8. เชียงใหม่ เอฟซี (น้องใหม่ในไทยลีก 2562)
  9. สมุทรสาคร เอฟซี
  10. บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
  11. ระยอง เอฟซี*
  12. ขอนแก่น เอฟซี

หมายเหตุ

  1. ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับในไทยลีก ฤดูกาล 2018
  2. ไม่มีทีม บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด(1) กับ แบงค็อก ยูไนเต็ด(2) เข้าร่วมแข่งขัน
  3. ในปี 2019 จัดการแข่งขันเป็นครั้งที่ 3 โดยสองครั้งที่ผ่านมา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ได้เป็นแชมป์ทั้ง 2 ครั้ง

รอบชิงชนะเลิศ เชียงราย ยูไนเต็ด - ฮานอย เอฟซี ผลการแข่งขัน 3-2 [36]

อ้างอิง แก้

  1. บุรีรัมย์ บุกเฉือนชนะ เชียงราย 2-1 คว้าแชมป์ไทยลีก สมัยที่ 8
  2. สมัยที่ 8! บุรีรัมย์ฝ่าลูกเห็บดับเชียงราย 2-1 ซิวแชมป์ไทยลีก 2022/23
  3. 101 คำที่กลั่นจากใจ "เนวิน" เปิดใจหลัง "บุรีรัมย์" บุกเชือด "เชียงราย" ซิวแชมป์ลีกสมัย 8
  4. นับสมัยที่ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ลงแข่งขันในนามสโมสรการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และสโมสร บุรีรัมย์ พีอีเอ
  5. นับสมัยที่ เพื่อนตำรวจ ลงแข่งขันในนามสโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย, สโมสรการท่าเรือไทย,และ สโมสรสิงห์ท่าเรือ
  6. นับสมัยที่ แบงค็อก ยูไนเต็ด ลงแข่งขันในนามสโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  7. นับสมัยที่ อาร์มี่ ยูไนเต็ด ลงแข่งขันในนามสโมสรทหารบก
  8. นับสมัยที่ ราชนาวี ลงแข่งขันในนามสโมสรราชนาวีสโมสร และ สโมสรราชนาวี-ระยอง
  9. นับสมัยที่ แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล ลงแข่งขันในนามสโมสรทหารอากาศ
  10. นับสมัยที่ ศรีสะเกษ เอฟซี ลงแข่งขันในนามสโมสรอีสาน ยูไนเต็ด
  11. นับสมัยที่ ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ลงแข่งขันในนามสโมสรโอสถสภา, สโมสรโอสถสภา เอ็ม-150, สโมสรโอสถสภา เอ็ม-150 สระบุรี, และ โอสถสภา เอ็ม-150 สมุทรปราการ
  12. นับสมัยที่ บีบีซียู ลงแข่งขันในนามสโมสรสินธนา, สโมสรจุฬา-สินธนา, และ สโมสรจุฬา ยูไนเต็ด
  13. http://www.manager.co.th/Sport/ViewNews.aspx?NewsID=9590000091453 ลาก่อน! “บีบีซียู” ตกชั้นเล่นดิวิชั่น1 ทีมแรก
  14. นับสมัยที่ เพื่อนตำรวจ ลงแข่งขันในนามสโมสรตำรวจ
  15. http://www.siamsport.co.th/Sport_Football/160203_242.html สระบุรีถอนทีม,ตำรวจเคลียร์ไม่ทัน,ยัน4ก.พ.ได้บทสรุปทีมขึ้น-ลง
  16. นับสมัยที่ พัทยา ยูไนเต็ด ลงแข่งขันในนามสโมสรโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ
  17. นับสมัยที่ ทีโอที เอสซี ลงแข่งขันในนามสโมสรองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, สโมสรบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น,และ สโมสรทีโอที-แคท
  18. นับสมัยที่ สงขลา ยูไนเต็ด ลงแข่งขันในนามสโมสรวัวชน ยูไนเต็ด
  19. นับสมัยที่ ทีทีเอ็ม เอฟซี ลงแข่งขันในนามสโมสรพนักงานยาสูบ, สโมสรทีทีเอ็ม สมุทรสาคร, สโมสรทีทีเอ็ม เอฟซี-พิจิตร, และ สโมสรทีทีเอ็ม-เชียงใหม่
  20. นับสมัยที่ อาร์แบค ลงแข่งขันในนามสโมสรตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สโมสรกรุงเทพมหานคร
  21. นับสมัยที่ ไดสตาร์กรุงเทพ ลงแข่งขันในนามสโมสรธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชยการ
  22. Asia Football / Soccer Clubs Ranking
  23. "ปิดตำนานโลมาสีน้ำเงิน! พัทยา โพสต์ข้อความขอบคุณแฟนบอล-ผู้สนับสนุน อย่างเป็นทางการ".
  24. "OFFICIAL : ดีกรีไม่ธรรมดา! สมุทรปราการ แต่งตั้ง "เทตสึยะ มูระยามะ" นั่ง ผอ.สโมสรฯ".
  25. "TRIBE TALK – Tetsuya Murayama, Samut Prakan City Head Coach".
  26. "มาซาทาดะ อิชิอิ : โค้ชรองแชมป์สโมสรโลกที่ผันตัวไปเป็นพนักงานศูนย์อาหารเพื่อครอบครัว".
  27. "Ishii vows to push Sea Fangs to new level".
  28. "FORMER J LEAGUE STAR, PEDRO JUNIOR SIGNED IN THAILAND FOR SAMUT PRAKAN CITY".
  29. "แชมป์เก่าตายยาก "เชียงราย" ไล่เจ๊า "สมุทรปราการ" 1-1 เปิดหัวไทยลีก".
  30. "วีเออาร์ชี้โทษ! ทาร์เดลี่กดชัยสมุทรปราการ บุกเฉือนระยอง เฮแรกรอบ3เกม".
  31. "Thunder Castle crushed at home by lowly Samut Prakan".
  32. "4นัดหลังรัว17ประตู! อิชิอิพาสมุทรปราการเปรี้ยง ผงาดยอดโค้ชไทยลีกธ.ค.63".
  33. "Ono targets Top Three finish for Ishii's entertainers".
  34. "เบื้องหลังถล่มท่าเรือ!!อิชิอิ ซื้อโดรนช่วยแข้งปราการฝึกซ้อม".
  35. ""Wattana" beat "Muang Thong" slash "Samut Prakan" 1-0 before the Deputy "Chang FA Cup"".
  36. ‘กว่างโซ้ง’ เฉือน ‘ฮานอย’ 3-2 ประเดิมแชมป์ลีโอ ปรีซีซั่น คัพ 2019