จังหวัดแม่ฮ่องสอนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 2 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน

จังหวัดแม่ฮ่องสอนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ82.02%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 52,825 23,049
% 50.58 22.07

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

ภาพรวม แก้

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน แก้

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 1 แก้

กลุ่มจังหวัดที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดเชียงราย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดพะเยา จังหวัดน่าน จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน จังหวัดแพร่ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดตาก และจังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 11 จังหวัด

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 1
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 142,706 3.73
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 62,949 1.65
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 50,108 1.31
ประชาธิปัตย์ (4) 1,358,310 35.55
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6) 58,819 1.54
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9)
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,897,077 49.65
ชาติไทย (13) 64,534 1.69
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 78,965 2.07
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 22,028 0.58
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 15,732 0.41
ไทเป็นไท (20) 25,251 0.66
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 18,665 0.49
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 8,731 0.23
เอกราช (28) 6,904 0.18
พลังแผ่นดิน (29) 10,221 0.27
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,821,000 90.49
บัตรเสีย 272,639 6.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 128,966 3.05
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,222,602 80.40
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,251,918 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 1 แก้

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 1 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน ยงยุทธ ติยะไพรัช
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
สมพงษ์ อมรวิวัฒน์
พันตำรวจโท กานต์ เทียนแก้ว
สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์
พรรคประชาธิปัตย์ เทอดพงษ์ ไชยนันทน์
สามารถ ราชพลสิทธิ์
พลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี
สุรสิทธิ์ ตรีทอง
พรรคเพื่อแผ่นดิน สุรเดช ยะสวัสดิ์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดแม่ฮ่องสอน แก้

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 7,802 7.47
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 3,596 3.44
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 4,065 3.89
ประชาธิปัตย์ (4) 52,825 50.58
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6) 3,295 3.16
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9)
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 23,049 22.07
ชาติไทย (13) 2,989 2.86
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 978 0.94
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 1,016 0.97
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 797 0.76
ไทเป็นไท (20) 1,383 1.32
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 1,245 1.19
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 543 0.52
เอกราช (28) 379 0.36
พลังแผ่นดิน (29) 475 0.46
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 104,437 90.54
บัตรเสีย 7,796 6.76
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,109 2.70
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 115,342 82.02
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 140,628 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต แก้

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดแม่ฮ่องสอนทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมบัติ ยะสินธุ์ (8) 32,297 31.30
พลังประชาชน อดุลย์ วันไชยธนวงศ์ (4) 30,697 29.75
พลังประชาชน ปัญญา จีนาคำ (3)* 24,862 24.09
ประชาธิปัตย์ จีรพงศ์ พวงทอง (7) 18,445 17.88
ชาติไทย เสริม ลอก๊ะ (1) 18,394 17.83
เพื่อแผ่นดิน สมบูรณ์ ไพรวัลย์ (11)* 13,383 12.97
ชาติไทย วิเชียร บุญระชัยสวรรค์ (2) 9,117 8.84
รวมใจไทยชาติพัฒนา ทวี ถิ่นวนา (6) 7,908 7.66
ประชาราช ชัยเพชร กิ่งแก้วเพชร (9) 5,764 5.59
เพื่อแผ่นดิน เกียรติศักดิ์ วนากมล (12) 5,764 5.59
สยามสันติ ปรีดา กุณามา (19) 3,325 3.22
ประชาราช อภินันท์ เครือซุย (10) 2,031 1.97
รวมใจไทยชาติพัฒนา อุกฤษฎ์ แสงงาม (5) 1,945 1.89
มัชฌิมาธิปไตย พันตำรวจโท จักร์ สายแก้ว (13) 1,461 1.42
ไทเป็นไท อำนาจ แสงเฮ่อ (21) 1,242 1.20
มัชฌิมาธิปไตย เสน่ห์ วิศวกลกาล (14) 1,220 1.18
ไทเป็นไท สมเกียรติ ตระการพรรณงาม (22) 1,138 1.10
ประชามติ ชวลิต สายคำ (18) 1,116 1.08
ประชามติ มานพ รักเรียน (17) 948 0.92
ความหวังใหม่ วิรัช จันทประยูร (16) 762 0.74
ความหวังใหม่ ว่าที่ร้อยโท สันติภาพ ไหวดี (15) 719 0.70
สยามสันติ กร เสริมสกุล (20) 718 0.70
บัตรดี 103,189 89.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,452 4.73
บัตรเสีย 6,701 5.81
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 115,342 82.02
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 140,528 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้