จังหวัดแม่ฮ่องสอนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

จังหวัดแม่ฮ่องสอนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ77.24%
  First party Second party
 
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1
คะแนนเสียง 45,052 21,474
% 42.68 20.34

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

ภาพรวม แก้

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอน) แก้

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ไทยรักไทย 45,052 42.68%
ประชาธิปัตย์ 21,474 20.34%
อื่น ๆ 39,029 36.98%
ผลรวม 105,555 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
42.68%
ประชาธิปัตย์
  
20.34%
อื่น ๆ
  
36.98%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง) แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอน) แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง) แก้

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ แก้

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 2,530 2.40
กิจสังคม (2) 699 0.66
พัฒนาชาติไทย (3) 772 0.73
ประชาธิปัตย์ (4) 21,474 20.34
ประชาชนไทย (5) 1,692 1.60
คนขอปลดหนี้ (6) 20,895 19.80
ธรรมชาติไทย (7) 666 0.63
แผ่นดินไทย (8) 677 0.64
ไทยรักไทย (9) 45,052 42.68
ความหวังใหม่ (10) 582 0.55
มหาชน (11) 5,177 4.91
ประชากรไทย (12) 263 0.25
ไทยช่วยไทย (13) 297 0.28
แรงงาน (14) 1,167 1.11
ชาติประชาธิปไตย (15) 630 0.60
กสิกรไทย (16) 1,135 1.08
ทางเลือกที่สาม (17) 196 0.19
รักษ์ถิ่นไทย (18) 202 0.19
พลังเกษตรกร (19) 1,215 1.15
พลังประชาชน (20) 234 0.22
บัตรดี 105,555 94.80
บัตรเสีย 4,363 3.92
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,425 1.28
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 111,343 77.24
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 144,150 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต แก้

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1 แก้

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน อำเภอปางมะผ้า อำเภอปาย และอำเภอขุนยวม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ปัญญา จีนาคำ (9)* 21,890 48.33
ประชาธิปัตย์ เสน่ห์ อุตราภิมุข (4) 10,619 23.45
มหาชน กิตติกา พานอ่อง (11) 6,048 13.35
คนขอปลดหนี้ อำนาจ แสงเฮ่อ (6) 3,666 8.09
ชาติไทย ดำรง ไหวดี (1) 2,522 5.57
ความหวังใหม่ ประเวช คำสวัสดิ์ (10) 546 1.21
ผลรวม 45,291 100.00
บัตรดี 45,291 83.82
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,386 4.42
บัตรเสีย 6,355 11.76
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 54,032 80.14
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 67,421 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2 แก้

ประกอบไปด้วยอำเภอแม่ลาน้อย อำเภอแม่สะเรียง และอำเภอสบเมย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สมบูรณ์ ไพรวัลย์ (9)* 15,654 33.52
คนขอปลดหนี้ ชัยเพชร กิ่งแก้วเพชร (6) 14,568 31.19
ประชาธิปัตย์ จีรพงศ์ พวงทอง (4) 13,638 29.20
มหาชน ว่าที่พันตรี วรวิทย์ พันธุรัตน์ (11) 2,841 6.08
ผลรวม 46,701 100.00
บัตรดี 46,701 81.48
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,301 2.27
บัตรเสีย 9,313 16.25
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 57,315 74.70
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 76,729 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง แก้

  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 May 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้