สีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง

สีแดง
 
สเปกตรัม
ความยาวคลื่นapprox. 625–740 [1] nm
ความถี่~480–400 THz
About these coordinates     รหัสสี
Hex triplet#FF0000
sRGBB  (rgb)(255, 0, 0)
SourceX11
B: อยู่ในช่วง [0–255] (ไบต์)

จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเหลือง, สีน้ำเงิน

สัญลักษณ์ที่มีสีแดง แก้

สัญลักษณ์ แก้

สีประจำสถาบันการศึกษา แก้

สีแดงเลือดหมู คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ แก้

สีแดงเลือดหมู คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
 
สเปกตรัม
ความยาวคลื่นapprox. 616[3] nm
ความถี่~486 THz
      รหัสสี
Hex triplet#8D1B23
sRGBB  (rgb)(141, 27, 35)
CMYKH   (c, m, y, k)(0.00, 0.81, 0.75, 0.45)
HSV       (h, s, v)(356°, 81%, 55%)
SourceColor Hex
B: อยู่ในช่วง [0–255] (ไบต์)
H: อยู่ในช่วง [0–100] (ร้อย)

โดยทั่วไปแล้ว สีแดงเลือดหมูถือว่าเป็นสีประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ ในสถาบันอุดมศึกษาหลากหลายแห่งภายในประเทศไทย สืบเนื่องมาจากการที่สีโลหิตของพระวิษณุกรรม ซึ่งเป็นเทพแห่งวิศวกรรม และเทพแห่งการช่างทั้งปวง มีสีโลหิตเป็นสีแดงเลือดหมู โดยสีประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ในแต่ละสถาบันก็จะมีโทนสีที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งในส่วนของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ได้ทำการกำหนดให้รหัสสี #8D1B23[4] เป็นสีประจำคณะวิชา และได้นำสีดังกล่าวมาปรับใช้กับตราสัญลักษณ์, ธง, ปกชุดครุยวิทยฐานะ ฯลฯ ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ตั้งแต่ในช่วงระยะเวลาที่เริ่มทำการก่อตั้งคณะวิชาจวบจนมาถึงในช่วงระยะเวลาปัจจุบัน

เฉดสีเว็บ แก้

ชื่อที่ใช้ใน
HTML
R G B
Hex
ตัวอย่างสี
Indianred CD 5C 5C  
Lightcoral F0 80 80  
Salmon FA 80 72  
Darksalmon E9 96 7A  
Orangered FF 45 00  
Red FF 00 00  
Crimson DC 14 3C  
Firebrick B2 22 22  
Darkred 8B 00 00  

อ้างอิง แก้

  1. Georgia State University Department of Physics and Astronomy. "Spectral Colors". HyperPhysics site. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 27, 2017. สืบค้นเมื่อ October 20, 2017.
  2. 2.0 2.1 สรุปมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 4/2560 เมื่อวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 (โดยมีอาจารย์ ดร. ไพโรจน์ พิทยเมธี อาจารย์ประจำภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้จัดทำสีไทยโทน ในการควบคุมและประสานงานเพื่อปรับสีประจำคณะวิชา)
  3. #8d1b23 Hex Color Code
  4. สีประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ