การใช้ตารางข้อมูลธาตุ แก้

ทองคำ
แพลทินัม ← → ปรอท
Ag

Au

Rg
ทั่วไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม ทองคำ, Au, 79
อนุกรมเคมี โลหะทรานซิชัน
หมู่, คาบ, บล็อก 11, 6, d
ลักษณะ สีเหลืองทอง
 
มวลอะตอม 196.96655(2) กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Xe] 4f14 5d10 6s1
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 2, 8, 18, 32, 18, 1
คุณสมบัติทางกายภาพ
สถานะ ของแข็ง
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 19.3 ก./ซม.³
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. 17.31 ก./ซม.³
จุดหลอมเหลว 1337.33 K
(1064.18 °C)
จุดเดือด 3129 K(2856 °C)
ความร้อนของการหลอมเหลว 12.55 กิโลจูล/โมล
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 324 กิโลจูล/โมล
ความร้อนจำเพาะ (25 °C) 25.418 J/(mol·K)
ความดันไอ
P/Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T K 1646 1814 2021 2281 2620 3078
คุณสมบัติของอะตอม
โครงสร้างผลึก cubic face centered
สถานะออกซิเดชัน 3, 1
(amphoteric oxide)
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 2.54 (พอลิงสเกล)
พลังงานไอออไนเซชัน ระดับที่ 1: 890.1 กิโลจูล/โมล
ระดับที่ 2: 1980 กิโลจูล/โมล
รัศมีอะตอม 135 pm
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 174 pm
รัศมีโควาเลนต์ 144 pm
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 166 pm
อื่น ๆ
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก diamagnetic
ความต้านทานไฟฟ้า (20 °C) 22.14 nΩ·m
การนำความร้อน (300 K) 318 W/(m·K)
การขยายตัวจากความร้อน (25 °C) 14.2 µm/(m·K)
อัตราเร็วของเสียง (แท่งบาง) (r.t.) (hard-drawn)
2030 m/s
มอดุลัสของยัง 78 GPa
โมดูลัสของแรงเฉือน 27 GPa
โมดูลัสของแรงบีบอัด 220 GPa
อัตราส่วนปัวซง 0.44
ความแข็งโมส 2.5
ความแข็งวิกเกอร์ส 216 MPa
ความแข็งบริเนล 2450 MPa
เลขทะเบียน CAS 7440-57-5
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของทองคำ
iso NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
195Au syn 186.10 d ε 0.227 195Pt
196Au syn 6.183 d ε 1.506 196Pt
β- 0.686 196Hg
197Au 100% Au เสถียร โดยมี 118 นิวตรอน
198Au syn 2.69517 d β- 1.372 198Hg
199Au syn 3.169 d β- 0.453 199Hg
แหล่งอ้างอิง

ตารางข้อมูลประกอบด้วย ชุดของแม่แบบที่ใช้การสร้างแต่ละแถวของตาราง ตัวอย่างของตารางต้นแบบแสดงด้านขวามือของรายการแม่แบบทั้งหมดที่มี คือ :

  • {{Elementbox_header}} — เริ่มตาราง; สร้างรูปตารางธาตุ และ ลิงก์เชื่อมโยงต่างๆ; ชื่อ สัญลักษณ์ และ หมายเลข

  • {{Elementbox_series}} — อนุกรมเคมี
  • {{Elementbox_groupperiodblock}} — ค่าพารามิเตอร์ หมู่ group_X_element, คาบ period_X_element,และ บล็อก X_block
  • {{Elementbox_appearance}} — ลักษณะทางกายภาพไม่มีรูปประกอบ
  • {{Elementbox_appearance_img}} — ชื่อภาพแสดงลักษณะทางกายภาพ
  • {{Elementbox_atomicmass_gpm}} — มวลอะตอม ในหน่วย กรัม ต่อ โมล
  • {{Elementbox_econfig}} — การจัดเรียงอิเล็กตรอน
  • {{Elementbox_epershell}} — อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน

  • {{Elementbox_section_physicalprop}} — หัวตารางคุณสมบัติทางกายภาพ
  • {{Elementbox_phase}} — simple สถานะ
  • {{Elementbox_density_gpcm3nrt}} — ความหนาแน่น (ในสภาวะใกล้เคียงอุณหภูมิห้อง) ในหน่วย กรัม ต่อ ลูกบาศก์เซนติเมตร
  • {{Elementbox_density_gplstp}} — ความหนาแน่นของก๊าซ ในหน่วย กรัม ต่อ ลิตร (ในสภาวะ อุณหภูมิ และ ความดันมาตรฐาน)
  • {{Elementbox_densityliq_gpcm3mp}} — ความหนาแน่นของเหลว ในหน่วย กรัม ต่อ ลูกบาศก์เซนติเมตร (ในสภาวะ ของเหลว ที่อุณหภูมิหลอมเหลว)
  • {{Elementbox_meltingpoint}} — จุดหลอมเหลว ในหน่วย เคลวิน เซลเซียส และ ฟาเรนไฮต์
  • {{Elementbox_boilingpoint}} — จุดเดือด ในหน่วย เคลวิน เซลเซียส และ ฟาเรนไฮต์
  • {{Elementbox_heatfusion_kjpmol}} — ความร้อนของการหลอมเหลว ในหน่วย กิโลจูล/โมล
  • {{Elementbox_heatvaporiz_kjpmol}} — ความร้อนของการกลายเป็นไอ ในหน่วย กิโลจูล/โมล
  • {{Elementbox_heatcapacity_jpmolkat25}} — ความร้อนจำเพาะ ในหน่วย จูล ต่อ โมล เคลวิน ที่ 25 °C
  • {{Elementbox_vaporpressure_katpa}} — ตารางย่อยแสดงความดันไอ

  • {{Elementbox_section_atomicprop}} — หัวตารางคุณสมบัติของอะตอม
  • {{Elementbox_crystalstruct}} — โครงสร้างผลึก
  • {{Elementbox_oxistates}} — สถานะออกซิไดเซชัน
  • {{Elementbox_electroneg_pauling}} — อิเล็กโตรเนกาติวิตี ในระดับเสกล pauling
  • {{Elementbox_ionizationenergies1}} — พลังงานไอออไนเซชัน ที่ระดับ 1 ในหน่วย กิโลจูล ต่อ โมล
  • {{Elementbox_ionizationenergies2}} — พลังงานไอออไนเซชัน ที่ระดับ 1,2 ในหน่วย กิโลจูล ต่อ โมล
  • {{Elementbox_ionizationenergies3}} — พลังงานไอออไนเซชัน ที่ระดับ 1,2,3 ในหน่วย กิโลจูล ต่อ โมล
  • {{Elementbox_ionizationenergies4}} — พลังงานไอออไนเซชัน ที่ระดับ 1,2,3 ในหน่วย กิโลจูล ต่อ โมล และ แสดงลิงก์เพิ่มเติม
  • {{Elementbox_atomicradius_pm}} — รัศมีอะตอม ในหน่วย พิโคเมตร picometre
  • {{Elementbox_atomicradiuscalc_pm}} — รัศมีอะตอมจากการคำนวณ ในหน่วย พิโคเมตร
  • {{Elementbox_covalentradius_pm}} — รัศมีโควาเลนต์ ในหน่วย พิโคเมตร
  • {{Elementbox_vanderwaalsrad_pm}} — รัศมีวานเดอร์วาลส์ ในหน่วย พิโคเมตร

  • {{Elementbox_section_miscellaneous}} — หัวตารางอื่นๆ
  • {{Elementbox_magnetic}} — การจัดเรียงทางแม่เหล็ก
  • {{Elementbox_eresist_ohmm}} — ความต้านทานไฟฟ้า ในหน่วย โอห์ม เมตร (ไม่ต้องเว้นวรรคหากใช้ พรีฟิกหน่วยย่อย)
  • {{Elementbox_eresist_ohmmat0}} — ความต้านทานไฟฟ้า ที่ 0 °C ในหน่วย โอห์ม เมตร
  • {{Elementbox_eresist_ohmmat20}} — ความต้านทานไฟฟ้า ที่ 20 °C ในหน่วย โอห์ม
  • {{Elementbox_thermalcond_wpmkat300k}} — การนำความร้อน ที่อุณหภูมิ 300 K ในหน่วย วัตต์ ต่อ เมตร เคลวิน
  • {{Elementbox_thermalexpansion_umpmk}} — สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวเนื่องจากความร้อน ในหน่วย ไมโครเมตร ต่อ เมตร เคลวิน
  • {{Elementbox_thermalexpansion_umpmkat25}} — สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวเนื่องจากความร้อน ที่อุณหภูมิ 25 °C ในหน่วย ไมโครเมตร ต่อ เมตร เคลวิน
  • {{Elementbox_speedofsound_mps}} — ความเร็วเสียง ในหน่วย เมตร ต่อ วินาที
  • {{Elementbox_speedofsound_rodmpsat20}} — ความเร็วเสียง ในวัตถุลักษณะแท่งบาง ที่อุณหภูมิ 20 °C ในหน่วย เมตร ต่อ วินาที
  • {{Elementbox_speedofsound_rodmpsatrt}} — ความเร็วเสียง ในวัตถุลักษณะแท่งบาง ที่อุณหภูมิห้อง ในหน่วย เมตร ต่อ วินาที
  • {{Elementbox_youngsmodulus_gpa}} — โมดูลัสของยังก์ ในหน่วย กิกะปาสคาล
  • {{Elementbox_shearmodulus_gpa}} — โมดูลัสของแรงเฉือน ในหน่วย กิกะปาสคาล
  • {{Elementbox_bulkmodulus_gpa}} — โมดูลัสของแรงบีดอัด ในหน่วย กิกะปาสคาล
  • {{Elementbox_poissonratio}} — อัตราส่วนปัวซอง
  • {{Elementbox_mohshardness}} — ความแข็งโมห์ส
  • {{Elementbox_vickershardness_mpa}} — ความแข็งวิกเกอร์ส ในหน่วย เมกะปาสคาล
  • {{Elementbox_brinellhardness_mpa}} — ความแข็งบริเนล ในหน่วย เมกะปาสคาล
  • {{Elementbox_cas_number}} — หมายเลขบันทึก CAS




มาตรฐานสีที่ใช้ แก้

ส่วนหัวของตารางจะมีสีต่างๆ ตามสีที่ใช้แบ่งอนุกรมเคมีของธาตุในตารางธาตุ สีตัวอักษรจะเป็นสีดำสำหรับธาตุที่มีสถาณะของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ระดับบรรยากาศปกติ สีฟ้าสำหรับของเหลว และ สีเขียวสำหรับก๊าซ การเลือกใช้สีจะเป็นดังต่อไปนี้:

อนุกรมเคมี รหัสสี รายละเอียด
โลหะอัลคาไล (alkali metals) #ff6666 ไวต่อการเกิดปฏิกิริยา ดังนั้นจึงเลือกใช้สีแดง
โลหะอัลคาไลเอิร์ธ (alkaline earth metals) #ffdead เลือกใช้สีฝุ่นดิน (earthy color) เพื่อง่ายแก่การจดจำ
แลนทาไนด์ (lanthanides) #ffbfff เป็นการเลือกใช้สี โดยไม่มีหลักการใดๆ
แอกทิไนด์ (actinides) #ff99cc เป็นการเลือกใช้สี โดยไม่มีหลักการใดๆ
โลหะทรานซิชัน (transition metals) #ffc0c0 หากเลือกใช้สีเทา หรือ สีเงิน จะทำให้สีของโลหะทรานซิชัน และ โลหะชันเลว คล้ายกันยากแก่การแยกแยะ
โลหะชั้นเลว (poor metals) #cccccc เลือกใช้สีเทาซึ่งเป็นสีที่คล้ายโลหะจริง
กึ่งโลหะ (metalloids) #cccc99 เลือกสีระหว่าง โลหะ และ อโลหะ
อโลหะ (nonmetals) #a0ffa0 ประเภทของธาตุที่สำคัญที่สุดต่อสิ่งมีชีวิต ดังนั้นจึงเลือกสีเขียว
ฮาโลเจน (halogens) #ffff99 เลือกตามก๊าซฟลูออรีนซึ่งมีสีเหลือง และ ธาตุฮาโลเจน
แก๊สมีตระกูล (noble gases) #c0ffff เฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยา จึงเลือกใช้สีที่ดูอ่อน สบายตา

ภาพระบุตำแหน่งบนตารางธาตุ แก้

ภาพระบุตำแหน่งธาตุบนตารางธาตุ ที่ส่วนหัวของตาราง เป็นภาพที่มีความกว้าง 250 พิกเซล (โดยใช้ชื่อ "สัญลักษณ์ธาตุ-TableImage.png") สร้างจาก ภาพขนาดกว้าง 890 พิกเซล (ชื่อ "สัญลักษณ์ธาตุ-TableImage-BIG.png" มีแค่บางธาตุ) ในช่วงหลังๆ ภาพ "สัญลักษณ์ธาตุ-TableImage.png" บางภาพจะปรับใช้โดยตรงจากภาพใหญ่ โดยให้ซอฟต์แวร์ของวิกิ ปรับขนาดโดยอัติโนมัติ ชุดของภาพเหล่านี้ได้ถูกอัปโหลดไว้ที่ commons:periodic table

ภาพแม่แบบหลักคือ media:Perio Table.png ภาพหลักของแต่ละคาบนั้นคือ media:-TableImage-BIG-Period1.png ถึง media:-TableImage-BIG-Period8.png

  • ฟอนต์ที่ใช้สำหรับข้อความคือ Helvetica (urw) ขนาดกลาง และ ฟอนต์ไม่ปรับขนาด ขนาด 56 สำหรับ สัญลักษณ์ธาตุ และ ขนาด 38 สำรหรับ นิวคลีออน
  • กรอบใช้เน้นตำแหน่งธาตุควรจะเป็นสีดำ กว้าง 2 พิกเซล และ อยู่ขอบในของกรอบ
  • รูปสำหรับ โครงสร้างผลึกต่างๆนั้น อยู่ที่ โครงสร้างผลึก (crystal structure) และ มีขนาดที่พอดีสำหรับภาพตารางธาตุขนาดใหญ่
  • รูปสำหรับ โครงสร้างวงอิเล็กตรอน ต่างๆ และ บล็อก นั้นมีอยู่เรียบร้อยแล้วบนแม่แบบของคาบต่างๆ
  • รูปไม่มีส่วนใดเป็นภาษาอังกฤษ ดังนั้นจึงสามารถนำไปใช้กับวิกิพีภาษาอื่นๆ ได้