ผู้ใช้:Phaisit16207/ทดลองเขียน 12

52°N 20°E / 52°N 20°E / 52; 20

สาธารณรัฐโปแลนด์

Rzeczpospolita Polska  (โปแลนด์)
เพลงชาติ"มาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ"
(แปลว่า "โปแลนด์ยังไม่สูญสิ้น")
ที่ตั้งของ Phaisit16207/ทดลองเขียน 12  (เขียวเข้ม)

– ในยุโรป  (เขียว & เทาเข้ม)
– ในสหภาพยุโรป  (เขียว)  —  [คำอธิบายสัญลักษณ์]

เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
วอร์ซอ
52°13′N 21°02′E / 52.217°N 21.033°E / 52.217; 21.033
ภาษาราชการโปแลนด์[1]
กลุ่มชาติพันธุ์
(พ.ศ. 2554[2][3])
ศาสนา
(พ.ศ. 2562[4])
เดมะนิม
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบกึ่งประธานาธิบดี
สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ
อันด์แชย์ ดูดา
มาแตอุช มอราวีแยตสกี
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
วุฒิสภา
เซย์ม
ก่อตั้ง
14 เมษายน ค.ศ. 966
18 เมษายน ค.ศ. 1025
1 กรกฎาคม ค.ศ. 1569
24 ตุลาคม ค.ศ. 1795
11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
17 กันยายน ค.ศ. 1939
19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1947
31 ธันวาคม ค.ศ. 1989[6]
พื้นที่
• รวม
312,696[7] ตารางกิโลเมตร (120,733 ตารางไมล์)[c] (อันดับที่ 69)
1.48 (ณ ปี 2558)[9]
ประชากร
• 2563 ประมาณ
ลดลงเป็นกลาง 38,268,000[10] (อันดับที่ 38)
123 ต่อตารางกิโลเมตร (318.6 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 83)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2564 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 1.363 ล้านล้านดอลลาร์[11] (อันดับที่ 19)
เพิ่มขึ้น 35,957 ดอลลาร์[11] (อันดับที่ 39)
จีดีพี (ราคาตลาด) 2564 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 642 พันล้านดอลลาร์[11] (อันดับที่ 22)
เพิ่มขึ้น 16,930 ดอลลาร์[11] (อันดับที่ 44)
จีนี (2562)Negative increase 28.5[12]
ต่ำ
เอชดีไอ (2562)เพิ่มขึ้น 0.880[13]
สูงมาก · อันดับที่ 35
สกุลเงินซวอตือ (PLN)
เขตเวลาUTC+1 (เวลายุโรปกลาง)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (เวลาออมแสงยุโรปกลาง)
รูปแบบวันที่dd/mm/yyyy (ค.ศ.)
ขับรถด้านขวา
รหัสโทรศัพท์+48
โดเมนบนสุด.pl
เว็บไซต์
poland.pl

โปแลนด์ (อังกฤษ: Poland; โปแลนด์: Polska [ˈpɔlska] ปอลสกา) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปแลนด์ (อังกฤษ: Republic of Poland; โปแลนด์: Rzeczpospolita Polska) เป็นประเทศในตอนกลางของยุโรป[14] แบ่งออกเป็น 16 จังหวัดปกครอง ครอบคลุมพื้นที่ถึง 312,696 ตารางกิโลเมตร (120,733 ตารางไมล์) และส่วนใหญ่มีสภาพอากาศตามฤดูกาล[8] โปแลนด์มีประชากรเกือบ 38.5 ล้านคน and is the fifth-most populous member state of the European Union.[8] Warsaw is the nation's capital and largest metropolis. Other major cities include Kraków, Łódź, Wrocław, Poznań, Gdańsk, and Szczecin

รัฐโปแลนด์ก่อตั้งเมื่อมากกว่า 1,000 ปีก่อนภายใต้ราชวงศ์เปียสต์ (Piast dynasty) และถึงยุคทอง ตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้ราชวงศ์ยาเกียลลอน (Jagiellonian dynasty) เป็นยุคที่โปแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศที่ร่ำรวยและมีอำนาจมากที่สุดในยุโรป ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2334 สภาล่าง (Sejm เซย์ม) ของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ได้เลือกรับรัฐธรรมนูญพฤษภาคมของโปแลนด์ (May Constitution of Poland) รัฐธรรมนูญร่างฉบับแรกของยุโรป และฉบับที่ 2 ของโลก ตามหลังรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา

หลังจากนั้นไม่นาน โปแลนด์ได้ถูกแบ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย ออสเตรีย และ ราชอาณาจักรปรัสเซีย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 โปแลนด์มีสถานะเป็นราชอาณาจักร และได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2461 หลังสิ้นสุดสงครามโลก ภายใต้ยุคสาธารณรัฐที่ 2 (Second Polish Republic) หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 โปแลนด์กลายเป็นรัฐบริวารที่เป็นคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตภายใต้สาธารณรัฐประชาชน (People's Republic of Poland) ใน พ.ศ. 2532 การเลือกตั้งกึ่งเสรีครั้งแรกในโปแลนด์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดการดิ้นรนเพื่อเสรีภาพของขบวนการโซลิดาริตี (Solidarity movement) และเป็นการพ่ายแพ้ของผู้นำคอมมิวนิสต์ของโปแลนด์ (โดยก่อนหน้านี่ผู้นำคอมมิวนิสต์ของโปแลนด์ใด้ประกาศใช้กฎอัยการศึกเพื่อปราบการดิ้นรนเพื่อเสรีภาพของขบวนการโซลิดาริตีใน พ.ศ. 2524) มีการก่อตั้งสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 3 (Third Polish Republic) ในปัจจุบัน ตามด้วยการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในปี พ.ศ. 2540 ใน พ.ศ. 2542 โปแลนด์ได้เข้าร่วมองค์การนาโต และใน พ.ศ. 2547 ได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป

หมายเหตุ แก้

  1. Many declared more than one ethnic or national identity. The percentages of ethnic Poles and minorities depend on how they are counted. 94.83% declared exclusively Polish identity, 96.88% declared Polish as their first identity and 97.10% as either first or second identity. Around 98% declared some sort of Polish as their first identity.
  2. การเข้ารับศาสนาคริสต์ในประเทศโปแลนด์ถือเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศ โดยไม่สนถึงการติดต่อทางศาสนาหรืออื่น ๆ เพราะว่าเป็นการรวมชนเผ่าโปแลนด์ให้เป็นหนึ่ง[5]
  3. พื้นที่โปแลนด์ตามสำนักงานสถิติกลาง มีพื้นที่ 312,679 ตารางกิโลเมตร (120,726 ตารางไมล์) โดยมีพื้นดิน 311,888 ตารางกิโลเมตร (120,421 ตารางไมล์) และพื้นน้ำส่วนใน 791 ตารางกิโลเมตร (305 ตารางไมล์)[8]

อ้างอิง แก้

  1. รัฐธรรมนูญสาธารณรัฐโปแลนด์ มาตราที่ 27
  2. Struktura narodowo-etniczna, językowa i wyznaniowa ludności Polski. Narodowy Spis Powszechny Ludności i Mieszkań 2011 [National-ethnic, linguistic and religious structure of Poland. National Census of Population and Housing 2011] (PDF) (ภาษาโปแลนด์). Central Statistical Office. 2015. ISBN 978-83-7027-597-6.
  3. Ludność. Stan i struktura demograficzno-społeczna. Narodowy Spis Powszechny Ludności i Mieszkań 2011 [Population. Number and demographical-social structure. National Census of Population and Housing 2011] (PDF) (ภาษาโปแลนด์). Central Statistical Office. 2013. ISBN 978-83-7027-521-1.
  4. "Special Eurobarometer 493, European Union: European Commission, September 2019, pages 229–230". ec.europa.eu (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 3 October 2020.
  5. Christian Smith (1996). Disruptive Religion: The Force of Faith in Social-movement Activism. Psychology Press. ISBN 978-0-415-91405-5. สืบค้นเมื่อ 9 September 2013 – โดยทาง Google Books.
  6. "The Act of December 29, 1989 amending the Constitution of the Polish People's Republic". Internetowy System Aktów Prawnych. สืบค้นเมื่อ 18 October 2020. (ในภาษาโปแลนด์)
  7. GUS. "Powierzchnia i ludność w przekroju terytorialnym w 2018 roku".
  8. 8.0 8.1 8.2 "Concise Statistical Yearbook of Poland, 2008" (PDF). Central Statistical Office. 28 July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 28 October 2008. สืบค้นเมื่อ 12 August 2008.
  9. "Surface water and surface water change". Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). สืบค้นเมื่อ 11 October 2020.
  10. demografia.stat.gov.pl/. "Population. Size and structure and vital statistics in Poland by territorial division. As of December 31, 2019". stat.gov.pl.
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 "World Economic Outlook Database, October 2019". IMF.org. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 30 October 2019.
  12. "Gini coefficient of equivalised disposable income – EU-SILC survey". ec.europa.eu. Eurostat. สืบค้นเมื่อ 20 March 2020.
  13. "Human Development Report 2020" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Development Programme. 10 December 2019. สืบค้นเมื่อ 10 December 2019.
  14. Johnson, Lonnie R. (1996). Central Europe: enemies, neighbors, friends. Oxford University Press. p. 3. ISBN 978-0-19-802607-5.