การแข่งขันฟุตบอลผู้พิการทางสมองชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: International Cerebral Palsy Football World Cup : IFCPF World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลคนพิการทางสมองระหว่างประเทศระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการกีฬาคนพิการทางสมองสากล และ สหพันธ์ฟุตบอลผู้พิการทางสมองระหว่างประเทศ โดยการรับรองของ ฟีฟ่า จัดขึ้นทุกๆ 2 ปี จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1982

ภายหลังจากการแข่งขันรอบคัดเลือกตามทวีปต่างๆ มีทีมที่เข้าแข่งขันรอบสุดท้ายทั้งสิ้น 16 ทีม ดังนี้ ทวีปเอเชีย 3 ทีม ทวีปอเมริกาใต้ 1 ทีม โอเชียเนีย 1 ทีม ทวีปยุโรป 12 ทีม และเจ้าภาพ 1 ทีม

ประเภทความพิการ

แก้

ทีมที่เข้าร่วม

แก้

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน แบ่งตามทวีป ดังนี้:[1]

แอฟริกา (ซีเอเอฟ) อเมริกา
(คอนคาเคฟ และ คอนเมบอล)
เอเซีย (เอเอฟซี) ยุโรป (ยูฟ่า)

  กานา
  ไนจีเรีย
  แอฟริกาใต้
  ตูนิเซีย

คอนคาเคฟ

  แคนาดา
  เม็กซิโก
  สหรัฐ

คอนเมบอล

  อาร์เจนตินา
  ชิลี
  โคลอมเบีย
  เปรู
  เวเนซุเอลา

  ออสเตรเลีย
  จีน
  อินโดนีเซีย
  อินเดีย
  อิหร่าน
  จอร์แดน
  ญี่ปุ่น
  มาเลเซีย
  พม่า
  นิวซีแลนด์
  สิงคโปร์
  จีนไทเป
  ไทย
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

  ออสเตรีย
  เบลเยียม
  เดนมาร์ก
  ฟินแลนด์
  ฝรั่งเศส
  บริเตนใหญ่

  เยอรมนี
  ไอร์แลนด์
  อิตาลี
  เนเธอร์แลนด์
  นอร์เวย์
  โปรตุเกส
  รัสเซีย
  สเปน
  สวีเดน
  ตุรกี
  ยูเครน

การแข่งขัน

แก้
ระดับนานาชาติ

ฟุตบอลชิงแชมป์โลก

แก้
ปี เจ้าภาพ ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผลการแข่งขัน อันดับที่ 4 จำนวนทีม อ้างอิง.
1982
รายละเอียด
 
Greve (CPG)
 
ไอร์แลนด์
2–0  
เนเธอร์แลนด์
 
เบลเยียม
no information available2 8 [2][3]
1986
รายละเอียด
 
Gits (CPG)
 
เนเธอร์แลนด์
3–0  
เบลเยียม
 
ไอร์แลนด์
3  
โปรตุเกส
6 [2][3]
1990
รายละเอียด
 
อาสเซิน (WC)
 
เนเธอร์แลนด์
5–0  
ไอร์แลนด์
 
เบลเยียม
no information available2 5 [2][3]
1994
รายละเอียด
 
ดับลิน (WC)
 
เนเธอร์แลนด์
2–0  
ไอร์แลนด์
 
เบลเยียม
3  
สเปน
[2][3]
1998
รายละเอียด
 
รีโอเดจาเนโร (WC)
 
รัสเซีย
3–1  
ยูเครน
 
บราซิล
3–2  
สเปน
11 [2]
2001
รายละเอียด
 
นอตทิงแฮม (CPG)
 
ยูเครน
3–1  
รัสเซีย
 
บราซิล
2–0  
อิหร่าน
13 [4]
2003
รายละเอียด
 
บัวโนสไอเรส (WC)
 
ยูเครน
3–1  
บราซิล
 
รัสเซีย
2–1  
อาร์เจนตินา
[2]
2005
รายละเอียด
 
นิวลอนดอน (CPG)
  /  
รัสเซีย ยูเครน
no score found   /  
Russia Ukraine
 
อิหร่าน
9–0  
เนเธอร์แลนด์
13 [3]
2007
รายละเอียด
 
รีโอเดจาเนโร (WC)
 
รัสเซีย
2–1  
อิหร่าน
 
ยูเครน
2–0  
บราซิล
16 [2][5]
2009
รายละเอียด
 
อาร์เนม (IC)
 
ยูเครน
0–0
(ต่อเวลา)
(9–8 p.)
 
รัสเซีย
 
อิหร่าน
1–0  
บราซิล
12 [6]
2011
รายละเอียด
 
อาสเซิน, Emmen, Hoogeveen (WC)
 
รัสเซีย
6–1  
อิหร่าน
 
ยูเครน
8–3  
บราซิล
16 [2][7]
2013
รายละเอียด
 
Sant Cugat del Vallès (Cup)
 
ยูเครน
1–0  
บราซิล
 
รัสเซีย
4–0  
ไอร์แลนด์
16 [8]
IFCPF tournaments
2015
รายละเอียด
 
Burton-upon-Trent (WC)
 
รัสเซีย
1–0  
ยูเครน
 
บราซิล
6–0  
เนเธอร์แลนด์
16 [2][9]
2017
รายละเอียด
 
San Luis (WC)
 
ยูเครน
1–0  
อิหร่าน
 
รัสเซีย
2–0   อังกฤษ 16 [10]
2019
รายละเอียด
 
เซบิยา (Cup)
 
ยูเครน
1-3  
รัสเซีย
 
บราซิล
3–0   อังกฤษ 16
2022
รายละเอียด
not forgiven (Top8) Future events Future events 16
2023
รายละเอียด
not forgiven (WC) Future events Future events 16
2025
รายละเอียด
not forgiven (Cup) Future events Future events 16
2027
รายละเอียด
not forgiven (Top8) Future events Future events 16
2029
รายละเอียด
not forgiven (WC) Future events Future events 16
2031
รายละเอียด
not forgiven (WC) Future events Future events 16
2 = There is no information on the homepage of the IFCPF
3 = no score found

พาราลิมปิกเกมส์

แก้
ระดับทวีป

แอฟริกา

แก้

อเมริกา

แก้
อเมริกาเหนือ (คอนคาเคฟ)
อเมริกาใต้ (คอนเมนบอล)

เอเซีย

แก้
ชิงแชมป์เอเซีย
เฟสปิกเกมส์ และ เอเชียนพาราเกมส์
ระดับภูมิภาค

อาเซียน

แก้

ยุโรป

แก้

โอเชียเนีย

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Members of CP Football". ifcpf.com. International Federation of Cerebral Palsy Football. สืบค้นเมื่อ 2016-09-11.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :5
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :6
  4. "CP-ISRA World Games 2001 FOOTBALL - CP WORLD CUP, RESULTS". cpisra.org. 2002-02-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2002-02-14. สืบค้นเมื่อ 2016-09-19. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  5. "2007 CPISRA Football 7-a-side World Championships". ande.org.br. 2007-12-19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-12-19. สืบค้นเมื่อ 2016-09-19.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  6. "2009 CPISRA Football 7-a-side International Championships, Schedule" (PDF). cpisra.org.za. 2012-09-16. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-09-16. สืบค้นเมื่อ 2016-09-19. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  7. "2011 CPISRA Football 7-a-side World Championships". wkcp.nl. 2012-07-19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-22. สืบค้นเมื่อ 2016-09-19. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  8. "2013 CPISRA Intercontinental Cup". icup2013.com. 2013-12-18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-18. สืบค้นเมื่อ 2016-09-19. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  9. "2015 CP football world championships England 2015". cp2015.com. 2013-12-18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-05. สืบค้นเมื่อ 2016-09-19. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  10. "IFCPF CP Football World Championships, San Luis, Argentina, 4-24 September 2017". ifcpf.com. International Federation of Cerebral Palsy Football. สืบค้นเมื่อ 2017-09-24.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้