ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 (อังกฤษ: 2020 UEFA European Football Championship) หรือรู้จักกันในชื่อ ยูโร 2020 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 16 จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยเป็นครั้งแรกที่จะมีการแข่งขันใน 12 เมืองของทวีปยุโรป เพื่อเป็นการฉลองครบรอบ 60 ปีของการแข่งขัน[1]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ
11 ประเทศ
อาเซอร์ไบจาน
เดนมาร์ก
อังกฤษ
เยอรมนี
ฮังการี
อิตาลี
เนเธอร์แลนด์
โรมาเนีย
รัสเซีย
สกอตแลนด์
สเปน
วันที่11 มิถุนายน – 11 กรกฎาคม ค.ศ. 2021
ทีม24
สถานที่11 (ใน 11 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอิตาลี อิตาลี (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน51
จำนวนประตู142 (2.78 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,099,278 (21,554 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเช็กเกีย ปาตริก ชิก
โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด
(คนละ 5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิตาลี จันลุยจี ดอนนารุมมา
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมสเปน เปดริ
2016
2024

ทัวร์นาเมนต์จะจัดขึ้นใน 12 เมืองใน 12 ประเทศยูฟ่า เดิมทีจะมีกำหนดขึ้นตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 2020 ยูฟ่าได้ประกาศออกมาว่าทัวร์นาเมนต์จะล่าช้าประมาณหนึ่งปีเนื่องจากการแพร่ระบาดโคโรนาไวรัสทั่วยุโรปใน ค.ศ. 2020 และเสนอให้มีขึ้นตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน ถึง 11 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 การแข่งขันได้ถูกเลื่อนการแข่งขันออกไปเพื่อลดแรงกดดันต่อการบริการสาธารณะในประเทศที่ได้รับผลกระทบและเพื่อให้มีพื้นที่ว่างในปฏิทินสำหรับความสำเร็จของลีกในประเทศที่ถูกระงับ[2]

รอบคัดเลือก

แก้

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

แก้
ทีม[A] วิธีการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ จำนวนครั้งที่เข้ารอบ[B]
  เบลเยียม ชนะเลิศ กลุ่มไอ 10 ตุลาคม 2019 5 (1972, 1980, 1984, 2000, 2016)
  อิตาลี ชนะเลิศ กลุ่มเจ 12 ตุลาคม 2019 9 (1968, 1980, 1988, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
  รัสเซีย[C] รองชนะเลิศ กลุ่มไอ 13 ตุลาคม 2019 11 (1960, 1964, 1968, 1972, 1988, 1992, 1996, 2004, 2008, 2012, 2016)
  โปแลนด์ ชนะเลิศ กลุ่มจี 13 ตุลาคม 2019 3 (2008, 2012, 2016)
  ยูเครน ชนะเลิศ กลุ่มบี 14 ตุลาคม 2019 2 (2012, 2016)
  สเปน ชนะเลิศ กลุ่มเอฟ 15 ตุลาคม 2019 10 (1964, 1980, 1984, 1988, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
  ฝรั่งเศส ชนะเลิศ กลุ่มเอช 14 พฤศจิกายน 2019 9 (1960, 1984, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
  ตุรกี รองชนะเลิศ กลุ่มเอช 14 พฤศจิกายน 2019 4 (1996, 2000, 2008, 2016)
  อังกฤษ ชนะเลิศ กลุ่มเอ 14 พฤศจิกายน 2019 9 (1968, 1980, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2012, 2016)
  เช็กเกีย[D] รองชนะเลิศ กลุ่มเอ 14 พฤศจิกายน 2019 9 (1960, 1976, 1980, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
  ฟินแลนด์ รองชนะเลิศ กลุ่มเจ 15 พฤศจิกายน 2019 0 (ครั้งแรก)
  สวีเดน รองชนะเลิศ กลุ่มเอฟ 15 พฤศจิกายน 2019 6 (1992, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
  โครเอเชีย ชนะเลิศ กลุ่มอี 16 พฤศจิกายน 2019 5 (1996, 2004, 2008, 2012, 2016)
  ออสเตรีย รองชนะเลิศ กลุ่มจี 16 พฤศจิกายน 2019 2 (2008, 2016)
  เนเธอร์แลนด์ รองชนะเลิศ กลุ่มซี 16 พฤศจิกายน 2019 9 (1976, 1980, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012)
  เยอรมนี[E] ชนะเลิศ กลุ่มซี 16 พฤศจิกายน 2019 12 (1972, 1976, 1980, 1984, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
  โปรตุเกส รองชนะเลิศ กลุ่มบี 17 พฤศจิกายน 2019 7 (1984, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
  สวิตเซอร์แลนด์ ชนะเลิศ กลุ่มดี 18 พฤศจิกายน 2019 4 (1996, 2004, 2008, 2016)
  เดนมาร์ก รองชนะเลิศ กลุ่มดี 18 พฤศจิกายน 2019 8 (1964, 1984, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2012)
  เวลส์ รองชนะเลิศ กลุ่มอี 19 พฤศจิกายน 2019 1 (2016)
  มาซิโดเนียเหนือ ชนะเลิศ รอบเพลย์ออฟ สายดี 12 พฤศจิกายน 2020 0 (ครั้งแรก)
  ฮังการี ชนะเลิศ รอบเพลย์ออฟ สายเอ 12 พฤศจิกายน 2020 3 (1964, 1972, 2016)
  สโลวาเกีย ชนะเลิศ รอบเพลย์ออฟ สายบี 12 พฤศจิกายน 2020 1 (2016)
  สกอตแลนด์ ชนะเลิศ รอบเพลย์ออฟ สายซี 12 พฤศจิกายน 2020 2 (1992, 1996)
  1. ตัวเอียง คือหนึ่งในสิบสองทีมกลุ่มเจ้าภาพ
  2. ตัวหนา หมายถึงชนะเลิศในปีนั้น ตัวเอียง หมายถึงเป็นเจ้าภาพในปีนั้น
  3. ตั้งแต่ ค.ศ. 1960 ถึง 1988 รัสเซียเข้ารอบในฐานะสหภาพโซเวียต และใน ค.ศ. 1992 ในฐานะเครือรัฐเอกราช
  4. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 ถึง 1980 เช็กเกียเข้ารอบในฐานะเชโกสโลวาเกีย
  5. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972 ถึง 1988 เยอรมนีเข้ารอบในฐานะเยอรมนีตะวันตก

สถานที่

แก้
  ลอนดอน   โรม   มิวนิก
สนามกีฬาเวมบลีย์ สตาดีโอโอลิมปีโก อัลลีอันทซ์อาเรนา
ความจุ: 90,000 ความจุ: 70,634 ความจุ: 70,000
     
  บากู   เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก   บูดาเปสต์
สนามกีฬาโอลิมปิก สนามกีฬาเครสตอฟสกี ปุชกาชออเรนอ
ความจุ: 68,700 ความจุ: 68,134 ความจุ: 67,215
     
  เซบิยา   บูคาเรสต์   อัมสเตอร์ดัม   กลาสโกว์   โคเปนเฮเกน
สนามกีฬาลาการ์ตูฆา อาเรนานัตซียอนาเลอ โยฮัน ไกรฟฟ์ อาเรนา แฮมป์เดนพาร์ก สนามกีฬาพาร์เกิน
ความจุ: 60,000 ความจุ: 55,600 ความจุ: 54,990 ความจุ: 51,866 ความจุ: 38,065
         

แต่ละเมืองจะเป็นเจ้าภาพในจัดการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่มสามนัด และอีกหนึ่งนัดในรอบ 16 ทีมหรือรอบรองชนะเลิศ การจัดสรรการแข่งขันสำหรับ 11 สนามมีดังต่อไปนี้:

เมืองเจ้าภาพนั้นแบ่งออกเป็นหกการจับคู่ โดยอิงตามพื้นฐานของความแข็งแกร่งด้านการกีฬา (หากทีมเจ้าภาพทุกคนมีคุณสมบัติ) การพิจารณาทางภูมิศาสตร์ และข้อจำกัดด้านความปลอดภัยหรือการเมือง การจับคู่จัดสรรให้กับกลุ่มโดยใช้วิธีการสุ่มเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 2017 แต่ละประเทศเจ้าภาพที่ผ่านการรับรองจะเล่นอย่างน้อยสองนัดแบบเหย้า การจับคู่สถานที่กลุ่มมีดังนี้[3]

ผู้เล่น

แก้

เพื่อลดภาระของผู้เล่นเนื่องจากการระบาดของโควิด-19 จึงมีการเพิ่มขนาดทีมจาก 23 คน (ใช้จำนวนนี้ทุกครั้งนับตั้งแต่ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004) เป็น 26 คน อย่างไรก็ตาม ทีมยังคงส่งผู้เล่นในแต่ละนัดได้สูงสุดเพียง 23 คน[4] ทีมชาติแต่ละทีมจะต้องมีผู้รักษาประตูอย่างน้อยสามคน และลงทะเบียนรายชื่อผู้เล่นใน 10 วันก่อนการแข่งขันนัดแรกเริ่มต้น (ก่อนวันที่ 1 มิถุนายน 2021) หากผู้เล่นได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยรุนแรงจนไม่สามารถเข้าร่วมแข่งขันก่อนการแข่งขันนัดแรกของทีม สามารถเปลี่ยนเป็นผู้เล่นคนอื่นได้[1] อย่างไรก็ตาม ผู้รักษาประตูอาจถูกเปลี่ยนหลังจากการแข่งขันนัดแรกของทีมได้ หากได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย[4]

ผู้ตัดสิน

แก้

พิธีเปิด

แก้

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

ยูฟ่าประกาศตารางการแข่งขันเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2018[5][6] เวลาแข่งขันในงรอบแบ่งกลุ่มและรอบ 16 ทีมสุดท้ายจะมีการประกาศหลังจับฉลากรอบสุดท้าย

ทีมชนะเลิศ รองชนะเลิศ และทีมอันดับสามที่ดีที่สุดสี่ทีมของแต่ละกลุ่ม จะผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2) และตามเวลาท้องถิ่น หากสถานที่ตั้งอยู่ในเขตเวลาที่แตกต่างกัน

กลุ่มเอ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิตาลี (H) 3 3 0 0 7 0 +7 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   เวลส์ 3 1 1 1 3 2 +1 4[a]
3   สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 1 1 4 5 −1 4[a]
4   ตุรกี 3 0 0 3 1 8 −7 0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 เสมอกันที่ผลการแข่งขันเฮดทูเฮด (เวลส์ 1–1 สวิตเซอร์แลนด์). ผลต่างประตูโดยรวมถูกนำมาใช้กับเงื่อนไข.
ตุรกี  0–3  อิตาลี
รายงาน เดมีรัล   53' (เข้าประตูตัวเอง)
อิมโมบีเล   66'
อินซิญเญ   79'


กลุ่มบี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เบลเยียม 3 3 0 0 7 1 +6 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   เดนมาร์ก (H) 3 1 0 2 5 4 +1 3[a]
3   ฟินแลนด์ 3 1 0 2 1 3 −2 3[a]
4   รัสเซีย (H) 3 1 0 2 2 7 −5 3[a]
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 21 มิถุนายน 2021. แหล่งที่มา : ยูฟ่า
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 เสมอด้วยคะแนนเฮดทูเฮด (3). ผลต่างประตูเฮดทูเฮด: เดนมาร์ก +2, ฟินแลนด์ 0, รัสเซีย –2.


ฟินแลนด์  0–2  เบลเยียม
รายงาน ฮราเด็ตสกี   74' (เข้าประตูตัวเอง)
ลูกากู   81'

กลุ่มซี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เนเธอร์แลนด์ (H) 3 3 0 0 8 2 +6 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   ออสเตรีย 3 2 0 1 4 3 +1 6
3   ยูเครน 3 1 0 2 4 5 −1 3
4   มาซิโดเนียเหนือ 3 0 0 3 2 8 −6 0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
(H) เจ้าภาพ.


กลุ่มดี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อังกฤษ (H) 3 2 1 0 2 0 +2 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   โครเอเชีย 3 1 1 1 4 3 +1 4[a]
3   เช็กเกีย 3 1 1 1 3 2 +1 4[a]
4   สกอตแลนด์ (H) 3 0 1 2 1 5 −4 1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 เสมอกันที่ผลการแข่งขันเฮดทูเฮด (โครเอเชีย 1–1 เช็กเกีย). ผลต่างประตูโดยรวมถูกนำมาใช้กับเงื่อนไข.
สกอตแลนด์  0–2  เช็กเกีย
รายงาน ชิก   42'52'


กลุ่มอี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   สวีเดน 3 2 1 0 4 2 +2 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   สเปน (H) 3 1 2 0 6 1 +5 5
3   สโลวาเกีย 3 1 0 2 2 7 −5 3
4   โปแลนด์ 3 0 1 2 4 6 −2 1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
(H) เจ้าภาพ.


สโลวาเกีย  0–5  สเปน
รายงาน ดูเบรากา   30' (เข้าประตูตัวเอง)
ลาปอร์ต   45+3'
ซาราเบีย   56'
เอเฟ. ตอร์เรส   67'
กุตสกา   71' (เข้าประตูตัวเอง)

กลุ่มเอฟ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ฝรั่งเศส 3 1 2 0 4 3 +1 5 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   เยอรมนี (H) 3 1 1 1 6 5 +1 4[a]
3   โปรตุเกส 3 1 1 1 7 6 +1 4[a]
4   ฮังการี (H) 3 0 2 1 3 6 −3 2
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 ผลการแข่งขันเฮดทูเฮด: โปรตุเกส 2–4 เยอรมนี.
ฝรั่งเศส  1–0  เยอรมนี
ฮุมเมิลส์   20' (เข้าประตูตัวเอง) รายงาน

โปรตุเกส  2–4  เยอรมนี
โรนัลโด   15'
ฌอตา   67'
รายงาน ดียัช   35' (เข้าประตูตัวเอง)
กึไรรู   39' (เข้าประตูตัวเอง)
ฮาเวิทซ์   51'
โกเซินส์   60'

ตารางคะแนนทีมอันดับที่สาม

แก้
อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เอฟ   โปรตุเกส 3 1 1 1 7 6 +1 4 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ดี   เช็กเกีย 3 1 1 1 3 2 +1 4
3 เอ   สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 1 1 4 5 −1 4
4 ซี   ยูเครน 3 1 0 2 4 5 −1 3
5 บี   ฟินแลนด์ 3 1 0 2 1 3 −2 3
6 อี   สโลวาเกีย 3 1 0 2 2 7 −5 3
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน ; 2) ผลต่างประตู; 3) ได้ประตู; 4) ชนะ; 5) แฟร์เพลย์; 6) อันดับโดยรวมในรอบคัดเลือก

รอบแพ้คัดออก

แก้

สายการแข่งขัน

แก้
 
รอบ 16 ทีมรอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
27 มิถุนายน ค.ศ. 2021 – เซบิยา
 
 
  เบลเยียม1
 
2 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – มิวนิก
 
  โปรตุเกส0
 
  เบลเยียม1
 
26 มิถุนายน ค.ศ. 2021 – ลอนดอน
 
  อิตาลี2
 
  อิตาลี
(ต่อเวลา)
2
 
6 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – ลอนดอน
 
  ออสเตรีย1
 
  อิตาลี
(ลูกโทษ)
1 (4)
 
28 มิถุนายน ค.ศ. 2021 – บูคาเรสต์
 
  สเปน1 (2)
 
  ฝรั่งเศส3 (4)
 
2 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
 
  สวิตเซอร์แลนด์
(ลูกโทษ)
3 (5)
 
  สวิตเซอร์แลนด์1 (1)
 
28 มิถุนายน ค.ศ. 2021 – โคเปนเฮเกน
 
  สเปน
(ลูกโทษ)
1 (3)
 
  โครเอเชีย3
 
11 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – ลอนดอน
 
  สเปน
(ต่อเวลา)
5
 
  อิตาลี
(ลูกโทษ)
1 (3)
 
29 มิถุนายน ค.ศ. 2021 – กลาสโกว์
 
  อังกฤษ1 (2)
 
  สวีเดน1
 
3 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – โรม
 
  ยูเครน
(ต่อเวลา)
2
 
  ยูเครน0
 
29 มิถุนายน ค.ศ. 2021 – ลอนดอน
 
  อังกฤษ4
 
  อังกฤษ2
 
7 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – ลอนดอน
 
  เยอรมนี0
 
  อังกฤษ
(ต่อเวลา)
2
 
27 มิถุนายน ค.ศ. 2021 – บูดาเปสต์
 
  เดนมาร์ก1
 
  เนเธอร์แลนด์0
 
3 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – บากู
 
  เช็กเกีย2
 
  เช็กเกีย1
 
26 มิถุนายน ค.ศ. 2021 – อัมสเตอร์ดัม
 
  เดนมาร์ก2
 
  เวลส์0
 
 
  เดนมาร์ก4
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

แก้







รอบก่อนรองชนะเลิศ

แก้



รอบรองชนะเลิศ

แก้

อังกฤษ  2–1 (ต่อเวลาพิเศษ)  เดนมาร์ก
แคร์   39' (เข้าประตูตัวเอง)
เคน   104'
รายงาน ตัมส์กอร์   30'

รอบชิงชนะเลิศ

แก้

สถิติ

แก้

ผู้ทำประตู

แก้

มีการทำประตู 142 ประตู จากการแข่งขัน 51 นัด เฉลี่ย 2.78 ประตูต่อนัด


การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง