สถิติในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

บทความต่อไปนี้ได้แสดงถึงสถิติสำหรับฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 ซึ่งจัดขึ้นทั่วยุโรป ตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน ถึง 11 กรกฎาคม ค.ศ. 2021[1]

สถิติผู้เล่น

แก้

ผู้ทำประตู

แก้

มีการทำประตู 142 ประตู จากการแข่งขัน 51 นัด เฉลี่ย 2.78 ประตูต่อนัด


การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

แหล่งที่มา : ยูฟ่า[2]

การผ่านบอล

แก้

ผู้เล่นที่โดดเด่นใน ตัวหนา คือยังอยู่ในการแข่งขัน.


การผ่านบอล 4 ครั้ง

การผ่านบอล 3 ครั้ง

การผ่านบอล 2 ครั้ง

การผ่านบอล 1 ครั้ง

แหล่งที่มา : ยูฟ่า[3]

คลีนชีต

แก้

ผู้เล่นที่โดดเด่นใน ตัวหนา คือยังอยู่ในการแข่งขัน.

คลีนชีต 5 ครั้ง
คลีนชีต 3 ครั้ง
คลีนชีต 2 ครั้ง
คลีนชีต 1 ครั้ง

รางวัล

แก้

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด

แก้
อันดับ ผู้เล่น ทีม คู่แข่งขัน จำนวนรางวัล
1 เซร์ฆิโอ บุสเกตส์   สเปน สโลวาเกีย (GS), โครเอเชีย (R16) 2
เฟเดรีโก กีเอซา   อิตาลี เวลส์ (GS), สเปน (SF)
แด็นเซิล ดึมฟรีส   เนเธอร์แลนด์ ยูเครน (GS), ออสเตรีย (GS)
แฮร์รี เคน   อังกฤษ ยูเครน (QF), เดนมาร์ก (SF)
โรเมลู ลูกากู   เบลเยียม รัสเซีย (GS), เดนมาร์ก (GS)
เลโอนาร์โด สปีนัซโซลา   อิตาลี ตุรกี (GS), ออสเตรีย (R16)
7 ดาวิด อาลาบา   ออสเตรีย นอร์ทมาซิโดเนีย (GS) 1
ฌอร์ดี อัลบา   สเปน โปแลนด์ (GS)
แกเร็ท เบล   เวลส์ ตุรกี (GS)
การีม แบนเซมา   ฝรั่งเศส โปรตุเกส (GS)
เลโอนาร์โด โบนุชชี   อิตาลี อังกฤษ (Final)
แอนเตรแอส เครสเตินเซิน   เดนมาร์ก รัสเซีย (GS)
เกฟิน เดอ เบรยเนอ   เบลเยียม ฟินแลนด์ (GS)
ทอมัส ดิเลนีย์   เดนมาร์ก เช็กเกีย (QF)
แคสเปอร์ ตอลแปร์   เดนมาร์ก เวลส์ (R16)
เบรล เอ็มโบโล   สวิตเซอร์แลนด์ เวลส์ (GS)
เครสแจน อีเรกเซิน   เดนมาร์ก ฟินแลนด์ (GS)
เอียมิล ฟ็อชแบร์ย   สวีเดน โปแลนด์ (GS)
บิลลี กิลมอร์   สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ (GS)
โรบิน โกเซินส์   เยอรมนี โปรตุเกส (GS)
โฟลรีอาน กริลลิทช์   ออสเตรีย ยูเครน (GS)
ตอร์กาน อาซาร์   เบลเยียม โปรตุเกส (R16)
โตมาช โฮแล็ช   เช็กเกีย เนเธอร์แลนด์ (R16)
โลเรนโซ อินซิญเญ   อิตาลี เบลเยียม (QF)
อาเล็กซันเดอร์ อีซัก   สวีเดน สโลวาเกีย (GS)
โยซูอา คิมมิช   เยอรมนี ฮังการี (GS)
ลาสโล แกลอินแฮอิชแลร์   ฮังการี ฝรั่งเศส (GS)
วิกตอร์ ลินเดอเลิฟ   สวีเดน สเปน (GS)
มานูเอล โลกาเตลลี   อิตาลี สวิตเซอร์แลนด์ (GS)
แฮร์รี แมไกวร์   อังกฤษ เยอรมนี (R16)
อะเลคเซย์ มีรันชุค   รัสเซีย ฟินแลนด์ (GS)
ลูกา มอดริช   โครเอเชีย เช็กเกีย (GS)
ปอล ปอกบา   ฝรั่งเศส เยอรมนี (GS)
คริสเตียโน โรนัลโด   โปรตุเกส ฮังการี (GS)
บูกาโย ซากา   อังกฤษ เช็กเกีย (GS)
ปาตริก ชิก   เช็กเกีย สกอตแลนด์ (GS)
แจร์ดัน ชาชีรี   สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี (GS)
อูไน ซิมอน   สเปน สวิตเซอร์แลนด์ (QF)
มิลัน ชกริเญียร์   สโลวาเกีย โปแลนด์ (GS)
ราฮีม สเตอร์ลิง   อังกฤษ โครเอเชีย (GS)
นิกอลา วลาชิช   โครเอเชีย สกอตแลนด์ (GS)
จอร์จีนีโย ไวนัลดึม   เนเธอร์แลนด์ นอร์ทมาซิโดเนีย (GS)
กรานิต จากา   สวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส (R16)
อันดรีย์ ยาร์มอแลนกอ   ยูเครน นอร์ทมาซิโดเนีย (GS)
ออแลกซันดร์ ซินแชนกอ   ยูเครน สวีเดน (R16)

ที่มา: ยูฟ่า[5]

การทำประตู

แก้

โดยรวม

แก้
  • จำนวนประตูที่ทำได้: 140
  • ค่าเฉลี่ยประตูต่อนัด: 2.80
  • จำนวนการยิงคนเดียวสองประตูในหนึ่งนัด: 14

การีม แบนเซมา (2), แคสเปอร์ ตอลแปร์, เอียมิล ฟ็อชแบร์ย, แฮร์รี เคน, รอแบร์ต แลวันดอฟสกี, มานูเอล โลกาเตลลี, โรเมลู ลูกากู, คริสเตียโน โรนัลโด (2), ปาตริก ชิก, ฮาริส เซเฟรอวิช, แจร์ดัน ชาชีรี, จอร์จีนีโย ไวนัลดึม

  • จำนวนลูกโทษที่ได้: 17
  • จำนวนลูกโทษที่ทำได้: 9


คริสเตียโน โรนัลโด ให้กับ โปรตุเกส ในนัดที่พบกับ ฮังการี และ ฝรั่งเศส (2)
แม็มฟิส เดอไป ให้กับ เนเธอร์แลนด์ ในนัดที่พบกับ ออสเตรีย
เอียมิล ฟ็อชแบร์ย ให้กับ สวีเดน ในนัดที่พบกับ สโลวาเกีย
ปาตริก ชิก ให้กับ เช็กเกีย ในนัดที่พบกับ โครเอเชีย
อาร์ติออม ดซูย์บา ให้กับ รัสเซีย ในนัดที่พบกับ เดนมาร์ก
การีม แบนเซมา ให้กับ ฝรั่งเศส ในนัดที่พบกับ โปรตุเกส
โรเมลู ลูกากู ให้กับ เบลเยียม ในนัดที่พบกับ อิตาลี

  • จำนวนลูกโทษที่ทำพลาด: 8


พีแยร์-เอมิล ฮอยปีแยร์ ให้กับเดนมาร์ก ในนัดที่พบกับฟินแลนด์
แกเร็ท เบล ให้กับเวลส์ ในนัดที่พบกับตุรกี
แอซจัน อาลีออสกี ให้กับนอร์ทมาซิโดเนีย ในนัดที่พบกับยูเครน
รุสลัน มาลีนอว์สกึย ให้กับยูเครน ในนัดที่พบกับนอร์ทมาซิโดเนีย
ฌาราร์ต มูแรนู ให้กับสเปน ในนัดที่พบกับโปแลนด์
อัลบาโร โมราตา ให้กับสเปน ในนัดที่พบกับสโลวาเกีย
ริการ์โด โรดริเกซ ให้กับ สวิตเซอร์แลนด์ ในนัดที่พบกับ ฝรั่งเศส
แฮร์รี เคน ให้กับ อังกฤษ ในนัดที่พบกับ เดนมาร์ก

  • อัตราการยิงลูกโทษสำเร็จ: 52.94%
  • การทำเข้าประตูตัวเองที่เป็นประตู: 11

เมรีฮ์ เดมีรัล, วอยแชค ชแชนส์นือ, มัทซ์ ฮุมเมิลส์, รูแบน ดียัช, ราฟาแอล กึไรรู, ลูกาช ฮราเด็ตสกี, มาร์ติน ดูเบรากา, ยูไร กุตสกา, เปดริ, เดอนี ซาการียา, ซีมอน แคร์

เวลา

แก้

เอียมิล ฟ็อชแบร์ย ให้กับสวีเดน ในนัดที่พบกับโปแลนด์

  • ประตูที่เร็วที่สุดในหนึ่งนัดหลังจากเปลี่ยนตัวลงสนาม: นาทีที่ 1

เฟร์รัน ตอร์เรส ให้กับสเปน ในนัดที่พบกับสโลวาเกีย (ในนาทีที่ 66)

  • ประตูล่าสุดในหนึ่งนัดที่นอกเหนือจากการต่อเวลาพิเศษ: นาทีที่ 90+5

คอนเนอร์ รอเบิตส์ ให้กับเวลส์ ในนัดที่พบกับตุรกี

  • ประตูล่าสุดในหนึ่งนัดที่ีมาจากการต่อเวลาพิเศษ: นาทีที่ 120+1

อาร์แตม ดอว์บึก ให้กับยูเครน ในนัดที่พบกับสวีเดน

  • ประตูชนะล่าสุดในหนึ่งนัดที่มาจากการทดเวลาบาดเจ็บ: นาทีที่ 90+4

วิกตอร์ คลอซ็อน ให้กับสวีเดน ในนัดที่พบกับโปแลนด์

  • ประตูชัยล่าสุดในหนึ่งนัดที่มาจากการต่อเวลาพิเศษ: นาทีที่ 120+1

อาร์แตม ดอว์บึก ให้กับยูเครน ในนัดที่พบกับสวีเดน

  • เวลาสั้นที่สุดที่แตกต่างระหว่างสองประตูที่ทำได้โดยทีมเดียวกันในหนึ่งนัด: 2 นาที

การีม แบนเซมา ให้กับฝรั่งเศส ในนัดที่พบกับสวิตเซอร์แลนด์

ทีม

แก้
  • ประตูที่ทำได้มากที่สุดในหนึ่งทีม: 13

สเปน

  • ประตูที่ทำได้น้อยที่สุดในหนึ่งทีม: 1

ฟินแลนด์, สกอตแลนด์, ตุรกี

  • ทีมที่เสียประตูให้คู่แข่งมากที่สุด: 10

ยูเครน

  • ทีมที่เสียประตูให้คู่แข่งน้อยที่สุด: 1

อังกฤษ

  • ผลต่างประตูที่ดีที่สุด: +9

อังกฤษ, อิตาลี

  • ผลต่างประตูที่แย่ที่สุด: –7

ตุรกี

  • ประตูที่ทำได้มากที่สุดในหนึ่งนัดโดยสองทีม: 8

โครเอเชีย (3–5) สเปน

  • ประตูที่ทำได้มากที่สุดในหนึ่งนัดโดยหนึ่งทีม: 5

สเปน ในนัดที่พบกับ สโลวาเกีย สเปน ในนัดที่พบกับ โครเอเชีย

ส่วนบุคคล

แก้
  • ทำประตูมากที่สุดโดยหนึ่งบุคคล: 5

คริสเตียโน โรนัลโด, ปาตริก ชิก

  • ผ่านบอลมากที่สุดโดยหนึ่งบุคคล: 4

สตีเวิน ซูเบอร์

  • ประตูและผ่านบอลมากที่สุดที่ผลิตขึ้นโดยหนึ่งบุคคล: 6

คริสเตียโน โรนัลโด (5 ประตู, 1 ผ่านบอล)

  • คลีนชีตส์มากที่สุดโดยผู้รักษาประตู: 5

จอร์แดน พิกฟอร์ด

  • คลีนชีตส์น้อยที่สุดโดยผู้รักษาประตู: 0

แฮออร์ฮีย์ บุชชัน, อูอูร์จัน ชาคือร์, สตอแล ดีมีตรีแอฟสกี, มาร์ติน ดูเบรากา, เปแตร์ กูลาชี, ดอมินิก ลิวากอวิช, มานูเอ็ล น็อยเออร์, อันตอน ชูนิน, ยัน ซ็อมเมอร์, วอยแชค ชแชนส์นือ

  • คลีนชีตส์มากที่สุดติดต่อกันโดยหนึ่งผู้รักษาประตู: 5

จอร์แดน พิกฟอร์ด

  • ผู้ทำประตูที่มีอายุมากที่สุด: 37 ปี และ 321 วัน

กอรัน ปันแดฟ ให้กับนอร์ทมาซิโดเนีย ในนัดที่พบกับ ออสเตรีย

  • ผู้ทำประตูที่มีอายุน้อยที่สุด: 20 ปี และ 353 วัน

มีเกิล ตัมส์กอร์ ให้กับเดนมาร์ก ในนัดที่พบกับ รัสเซีย

สถิติยอดผู้ชม

แก้

กฏระเบียบทางวินัย

แก้

การลงโทษ

แก้

โดยนัด

แก้
วันที่ เหย้า ผล เยือน รอบ ผู้ตัดสิน ใบทั้งหมด        
รอบแบ่งกลุ่ม
วันที่ 1 ตุรกี   0–3   อิตาลี กลุ่มเอ   ดันนี มักเกอลี 2 2 0 0
วันที่ 2 เวลส์   1–1   สวิตเซอร์แลนด์ กลุ่มเอ   เกลม็อง ตูร์แป็ง 3 3 0 0
วันที่ 2 เดนมาร์ก   0–1   ฟินแลนด์ กลุ่มบี   แอนโทนี เทย์เลอร์ 2 2 0 0
วันที่ 2 เบลเยียม   3–0   รัสเซีย กลุ่มบี   อันโตนิโอ มาเตว ลาโอซ 0 0 0 0
วันที่ 3 อังกฤษ   1–0   โครเอเชีย กลุ่มดี   ดานีเอเล ออร์ซาโต 4 4 0 0
วันที่ 3 ออสเตรีย   3–1   มาซิโดเนียเหนือ กลุ่มซี   อันเดรียอัส เอียกแบร์ย 3 3 0 0
วันที่ 3 เนเธอร์แลนด์   3–2   ยูเครน กลุ่มซี   เฟลิคส์ บรึช 1 1 0 0
วันที่ 4 สกอตแลนด์   0–2   เช็กเกีย กลุ่มดี   ดานีเอล ซีเบิร์ท 0 0 0 0
วันที่ 4 โปแลนด์   1–2   สโลวาเกีย กลุ่มอี   ออวีดียู ฮัตเซกัน 2 1 1 0
วันที่ 4 สเปน   0–0   สวีเดน กลุ่มอี   สเลากอ วินชิช 1 1 0 0
วันที่ 5 ฮังการี   0–3   โปรตุเกส กลุ่มเอฟ   จือเนย์ท ชาคือร์ 3 3 0 0
วันที่ 5 ฝรั่งเศส   1–0   เยอรมนี กลุ่มเอฟ   การ์โลส เดล เซร์โร กรันเด 1 0 0 0
วันที่ 6 ฟินแลนด์   0–1   รัสเซีย กลุ่มบี   ดันนี มักเกอลี 5 5 0 0
วันที่ 6 ตุรกี   0–2   เวลส์ กลุ่มเอ   อาร์ตืร์ ซูอารึช ดิยาซ 4 4 0 0
วันที่ 6 อิตาลี   3–0   สวิตเซอร์แลนด์ กลุ่มเอ   เซอร์แก คาราเซฟ 2 2 0 0
วันที่ 7 ยูเครน   2–1   มาซิโดเนียเหนือ กลุ่มซี   เฟร์นันโด ราปาลินิ 3 3 0 0
วันที่ 7 เดนมาร์ก   1–2   เบลเยียม กลุ่มบี   บีเยิร์น เกยเปิร์ส 4 4 0 0
วันที่ 7 เนเธอร์แลนด์   2–0   ออสเตรีย กลุ่มซี   โอเรล กรินเฟลด์ 3 3 0 0
วันที่ 8 สวีเดน   1–0   สโลวาเกีย กลุ่มอี   ดานีเอล ซีเบิร์ท 4 4 0 0
วันที่ 8 โครเอเชีย   1–1   เช็กเกีย กลุ่มดี   การ์โลส เดล เซร์โร กรันเด 4 4 0 0
วันที่ 8 อังกฤษ   0–0   สกอตแลนด์ กลุ่มดี   อันโตนิโอ มาเตว ลาโอซ 2 2 0 0
วันที่ 9 ฮังการี   1–1   ฝรั่งเศส กลุ่มเอฟ   ไมเคิล โอลิเวอร์ 2 2 0 0
วันที่ 9 โปรตุเกส   2–4   เยอรมนี กลุ่มเอฟ   แอนโทนี เทย์เลอร์ 2 2 0 0
วันที่ 9 สเปน   1–1   โปแลนด์ กลุ่มอี   ดานีเอเล ออร์ซาโต 6 6 0 0
วันที่ 10 อิตาลี   1–0   เวลส์ กลุ่มเอ   ออวีดียู ฮัตเซกัน 4 3 0 1
วันที่ 10 สวิตเซอร์แลนด์   3–1   ตุรกี กลุ่มเอ   สเลากอ วินชิช 4 4 0 0
วันที่ 11 ยูเครน   0–1   ออสเตรีย กลุ่มซี   จือเนย์ท ชาคือร์ 0 0 0 0
วันที่ 11 มาซิโดเนียเหนือ   0–3   เนเธอร์แลนด์ กลุ่มซี   อิสต์วัน คอวัคส์ 4 4 0 0
วันที่ 11 ฟินแลนด์   0–2   เบลเยียม กลุ่มบี   เฟลิคส์ บรึช 0 0 0 0
วันที่ 11 รัสเซีย   1–4   เดนมาร์ก กลุ่มบี   เกลม็อง ตูร์แป็ง 3 3 0 0
วันที่ 12 เช็กเกีย   0–1   อังกฤษ กลุ่มดี   อาร์ตูร์ ซูวารึช ดีอัช 1 1 0 0
วันที่ 12 โครเอเชีย   3–1   สกอตแลนด์ กลุ่มดี   เฟร์นันโด ราปาลินิ 2 2 0 0
วันที่ 13 สวีเดน   3–2   โปแลนด์ กลุ่มอี   ไมเคิล โอลิเวอร์ 3 3 0 0
วันที่ 13 สโลวาเกีย   0–5   สเปน กลุ่มอี   บีเยิร์น เกยเปิร์ส 4 4 0 0
วันที่ 13 เยอรมนี   2–2   ฮังการี กลุ่มเอฟ   เซียร์เกย์ คาราเซฟ 5 5 0 0
วันที่ 13 โปรตุเกส   2–2   ฝรั่งเศส กลุ่มเอฟ   อันโตนิโอ มาเตว ลาโอซ 4 4 0 0
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
วันที่ 14 เวลส์   0–4   เดนมาร์ก รอบ 16 ทีมสุดท้าย   ดานีเอล ซีเบิร์ท 5 4 0 1
วันที่ 14 อิตาลี   2–1
(ต่อเวลา)
  ออสเตรีย รอบ 16 ทีมสุดท้าย   แอนโทนี เทย์เลอร์ 5 5 0 0
วันที่ 15 เนเธอร์แลนด์   0–2   เช็กเกีย รอบ 16 ทีมสุดท้าย   เซียร์เกย์ คาราเซฟ 4 3 0 1
วันที่ 15 เบลเยียม   1–0   โปรตุเกส รอบ 16 ทีมสุดท้าย   เฟลิคส์ บรึช 5 5 0 0
วันที่ 16 โครเอเชีย   3–5
(ต่อเวลา)
  สเปน รอบ 16 ทีมสุดท้าย   จือเนย์ท ชาคือร์ 2 2 0 0
วันที่ 16 ฝรั่งเศส   3–3
(ต่อเวลา)
(4–5 )
  สวิตเซอร์แลนด์ รอบ 16 ทีมสุดท้าย   เฟร์นันโด ราปาลินิ 7 7 0 0
วันที่ 17 อังกฤษ   2–0   เยอรมนี รอบ 16 ทีมสุดท้าย   ดันนี มักเกอลี 5 5 0 0
วันที่ 17 สวีเดน   1–2
(ต่อเวลา)
  ยูเครน รอบ 16 ทีมสุดท้าย   ดานีเอเล ออร์ซาโต 5 4 0 1
รอบก่อนรองชนะเลิศ
วันที่ 18 สวิตเซอร์แลนด์   1–1
(ต่อเวลา)
(1–3 )
  สเปน รอบก่อนรองชนะเลิศ   ไมเคิล โอลิเวอร์ 4 3 0 1
วันที่ 18 เบลเยียม   1–2   อิตาลี รอบก่อนรองชนะเลิศ   สเลากอ วินชิช 3 3 0 0
วันที่ 19 เช็กเกีย   1–2   เดนมาร์ก รอบก่อนรองชนะเลิศ   บีเยิร์น เกยเปิร์ส 2 2 0 0
วันที่ 19 ยูเครน   0–4   อังกฤษ รอบก่อนรองชนะเลิศ   เฟลิคส์ บรึช 0 0 0 0
รอบรองชนะเลิศ
วันที่ 20 อิตาลี   1–1
(ต่อเวลา)
(4–2 )
  สเปน รอบรองชนะเลิศ   เฟลิคส์ บรึช 3 3 0 0
วันที่ 21 อังกฤษ   2–1
(ต่อเวลา)
  เดนมาร์ก รอบรองชนะเลิศ   ดันนี มักเกอลี 2 2 0 0
รอบชิงชนะเลิศ
วันที่ 22 อิตาลี   1–1
(ต่อเวลา)
(3–2 )
  อังกฤษ รอบชิงชนะเลิศ   บีเยิร์น เกยเปิร์ส 6 6 0 0

ที่มา: ยูฟ่า

โดยผู้ตัดสิน

แก้
ผู้ตัดสิน สัญชาติ Pld     Pen. ใบแดง
เฟลิคส์ บรึช   5 0 8 0
จือเนย์ท ชาคือร์   3 0 5 1
การ์โลส เดล เซร์โร กรันเด   2 0 5 1
อันเดรียอัส เอียกแบร์ย   1 0 3 0
โอเรล กรินเฟลด์   1 0 3 1
ออวีดียู ฮัตเซกัน   2 2 5 0 1 ใบเหลืองที่สอง, 1 ใบแดงโดยตรง
เซียร์เกย์ คาราเซฟ   3 1 10 0 1 ใบแดงโดยตรง
อิสต์วัน คอวัคส์   1 0 4 0
บีเยิร์น เกยเปิร์ส   4 0 16 1
ดันนี มักเกอลี   4 0 14 1
อันโตนิโอ มาเตว ลาโอซ   3 0 6 3
ไมเคิล โอลิเวอร์   3 1 8 0 1 ใบแดงโดยตรง
ดานีเอเล ออร์ซาโต   3 1 14 1 1 ใบแดงโดยตรง
เฟร์นันโด ราปาลินิ   3 0 12 3
ดานีเอล ซีเบิร์ท   3 1 8 1 1 ใบแดงโดยตรง
อาร์ตูร์ ซูวารึช ดีอัช   2 0 5 1
แอนโทนี เทย์เลอร์   3 0 9 1
เกลม็อง ตูร์แป็ง   2 0 6 1
สเลากอ วินชิช   3 0 8 1

ที่มา: ยูฟ่า[ต้องการอ้างอิง]

หมายเหตุ

แก้
  1. 1.0 1.1 ซัลวาโตเร ซีรีกู ถูกเปลี่ยนตัวลงสนามแทน จันลุยจี ดอนนารุมมา ในนาทีที่ 89 ของ อิตาลี ชนะ 1–0 ใน กลุ่ม เอ ในนัดที่พบกับ เวลส์. ผู้รักษาประตูทั้งสองคนได้รับเครดิตโดยยูฟ่ากับหนึ่งคลีนชีต.[4]

อ้างอิง

แก้
  1. "UEFA postpones EURO 2020 by 12 months". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
  2. "Player stats – Goals". UEFA.com. Union of European Football Associations. 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
  3. "Player stats – Attacking: Assists". UEFA.com. Union of European Football Associations. 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ player clean sheets
  5. "Every EURO 2020 Star of the Match". UEFA.com. Union of European Football Associations. 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
  6. "Emil Forsberg scores second-fastest goal in EURO history". ru.uefa.com. Union of European Football Associations. 23 June 2021. สืบค้นเมื่อ 27 June 2020. Emil Forsberg's goal against Poland at UEFA EURO 2020 came after just a minute and 22 seconds – only Russia's Dmitri Kirichenko has scored one quicker in a EURO finals game.
  7. "Full Time Summary – Italy v England" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 11 July 2021. สืบค้นเมื่อ 11 July 2021.
  8. "Full Time Summary – Croatia v Czech Republic" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 18 June 2021. สืบค้นเมื่อ 18 June 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้