จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน262,387
ผู้ใช้สิทธิ39.80%
  First party Second party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 3 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย และกิ่งอำเภอเกาะพะงัน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ บัญญัติ บรรทัดฐาน (6)* 30,695
ประชาธิปัตย์ ชื่น ทองศิริ (5)* 23,161
ชาติไทย สงวน กนกวิจิตร (2)✔ 13,261
กิจสังคม นุกูล เวียงวีระ (1) 12,840
ศรีอารยะ เชื้อ กาฬแก้ว (9) 3,743
ธรรมาธิปไตย พันธุ์เริ่ม ไชยธวัช (12) 2,504
กรุงสยาม สุธีร์ โสมทอง (4) 1,748
แรงงาน (ประเทศไทย) ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร (11)✔ 1,344
ธรรมสังคม ทวีศักดิ์ ปลื้มใจ (7) 962
กรุงสยาม จวน รักษ์แดง (3) 674
ธรรมสังคม มนูญ เกื้อหนุน (8) 384
ประชาธิปไตย (พ.ศ. 2517) มานิตย์ บุญแก้ว (10) 340
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอพระแสง, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ และกิ่งอำเภอบ้านตาขุน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไพฑูรย์ วงศ์วานิช (10) 23,211
กิจสังคม วิจิตร ยืนนาน (9)* 15,450
กิจสังคม ภิญญา ช่วยปลอด (11) 8,884
ชาติไทย สิบตำรวจเอก เสรี เสรยางกูร (1) 6,862
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย นิยม นุชมิตร์ (6) 6,062
พลังใหม่ ปราโมทย์ หวานแก้ว (7) 5,797
พลังใหม่ จรูญ รัตนพันธ์ (8) 5,062
กิจสังคม สวัสดิ์ ศรีสกุลเมฆี (12) 4,544
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ศึกษา ศรียาภัย (5) 2,916
ธรรมสังคม สกนณ์ โสภโณ (16) 2,837
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) พิรุณ อักษรนิติตระกูล (14) 2,198
แรงงาน (ประเทศไทย) สวัสดิ์ ทรัพย์สุนทร (17) 2,116
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) ประเสริฐ แสงหิรัญ (13) 1,792
แรงงาน (ประเทศไทย) นิรันดร์ พูนดี (4) 1,638
ชาติไทย พันศักดิ์ พฤกษ์ช่วยทัพ (2) 1,330
ธรรมสังคม บุศย์ วิเชียร (15) 1,318
แรงงาน (ประเทศไทย) อนันต์ เขตรัตน์ (3) 949
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) พิพัฒน์ สกุลพงษ์ (18) 325
พลังเสรี สมพร ปางวิภาส (19) 283
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519