จังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 6 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

จังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ65.05%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ราษฎร
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 0 5
ที่นั่งที่ชนะ 5 0 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น5 Steady0 ลดลง4
คะแนนเสียง 181,753 88,859 49,835
% 42.64 20.85 11.69

  Fourth party
 
ปชท
พรรค ประชากรไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1
คะแนนเสียง 13,713
% 3.22

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม แก้

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดสมุทรปราการ) แก้

พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 181,753 42.64%
ประชาธิปัตย์ 88,859 20.85%
ราษฎร 49,835 11.69%
ประชากรไทย 13,713 3.22%
อื่น ๆ 92,116 21.61%
ผลรวม 426,276 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
42.64%
ประชาธิปัตย์
  
20.85%
ราษฎร
  
11.69%
ประชากรไทย
  
3.22%
อื่น ๆ
  
21.61%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง) แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดสมุทรปราการ) แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง) แก้

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง แก้

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ แก้

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 1,695 0.40
ชาวไทย (2) 681 0.16
กสิกรไทย (3) 758 0.18
นิติมหาชน (4) 476 0.11
ความหวังใหม่ (5) 6,508 1.53
รักสามัคคี (6) 922 0.22
ไทยรักไทย (7) 181,753 42.64
ชาติประชาธิปไตย (8) 2,632 0.62
ชาติไทย (9) 3,282 0.77
สันติภาพ (10) 415 0.10
ถิ่นไทย (11) 20,043 4.70
พลังประชาชน (12) 1,023 0.24
ราษฎร (13) 49,835 11.69
สังคมใหม่ (14) 518 0.12
เสรีธรรม (15) 1,061 0.25
ประชาธิปัตย์ (16) 88,859 20.85
อำนาจประชาชน (17) 1,187 0.28
ประชากรไทย (18) 13,713 3.22
ไท (19) 365 0.09
ก้าวหน้า (20) 339 0.08
ชาติพัฒนา (21) 39,926 9.37
แรงงานไทย (22) 656 0.15
เผ่าไท (23) 346 0.08
สังคมประชาธิปไตย (24) 270 0.06
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 204 0.05
พัฒนาสังคม (26) 204 0.05
ไทยช่วยไทย (27) 1,032 0.24
ไทยมหารัฐ (28) 374 0.09
ศรัทธาประชาชน (29) 180 0.04
วิถีไทย (30) 181 0.04
ไทยประชาธิปไตย (31) 3,572 0.84
พลังธรรม (32) 964 0.23
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 636 0.15
กิจสังคม (34) 347 0.08
เกษตรมหาชน (35) 499 0.12
พลังเกษตรกร (36) 415 0.10
สยาม (37) 405 0.10
บัตรดี 426,276 93.64
บัตรเสีย 11,044 2.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 17,902 3.93
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 455,222 65.05
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 699,839 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต แก้

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสมุทรปราการ [เฉพาะตำบลท้ายบ้านใหม่ ตำบลปากน้ำ ตำบลบางด้วน และตำบลบางเมืองใหม่ (นอกเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ)]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง (7)✔ 27,859 42.89
ราษฎร นันทิดา แก้วบัวสาย (13) 15,079 23.21
ชาติพัฒนา ประสันต์ ศีลพิพัฒน์ (21) 10,396 16.01
ประชาธิปัตย์ สนั่น รังรักษ์ศิริวร (16) 8,349 12.85
ถิ่นไทย ชลอ จองสุข (11) 1,632 2.51
ประชากรไทย สัญชัย จุ่มศรี (18) 950 1.46
ความหวังใหม่ วรรณะ อาคฆพรรณ (5) 525 0.81
แรงงานไทย อุทัย เสน่หา (22) 148 0.23
กิจสังคม สมพร ทองดี (34) 18 0.03
ผลรวม 64,956 100.00
บัตรดี 64,956 89.55
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,742 5.16
บัตรเสีย 3,834 5.29
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 72,532 66.52
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 109,039 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

เขต 2 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสมุทรปราการ [เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ (ในเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ) ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ประเสริฐ เด่นนภาลัย (7) 31,968 44.98
ประชาธิปัตย์ สัญญา เสมอเหมือน (16) 15,464 21.76
ราษฎร ประดิษฐ ยั่งยืน (13)✔ 12,125 17.06
ชาติพัฒนา กุลธิดา วีรชาติวัฒนา (21) 4,901 6.90
ถิ่นไทย พูนศักดิ์ อยู่พลี (11) 2,617 3.68
ความหวังใหม่ อนันต์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา (5) 2,004 2.82
ประชากรไทย โสภิณ บำรุงเวช (18) 1,994 2.81
ผลรวม 71,073 100.00
บัตรดี 71,073 88.08
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,935 4.88
บัตรเสีย 5,680 7.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 80,688 62.55
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 129,004 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

เขต 3 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอพระสมุทรเจดีย์ อำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจากและตำบลบางครุ) และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรงและตำบลท้ายบ้าน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ประชา ประสพดี (7) 26,610 49.80
ราษฎร สมชาย สาดิษฐ์ (13)✔ 13,682 25.61
ประชาธิปัตย์ ไพโรจน์ รุ่งเรืองรอง (16) 8,393 15.71
ถิ่นไทย ว่าที่ร้อยตรี เฉลิมชัย เฉตไธสง (11) 2,036 3.81
ประชากรไทย ปิยพันธ์ เต่าทอง (18) 1,529 2.86
ความหวังใหม่ ประภัสสร สันติวิชช์ (5) 1,186 2.22
ชาติพัฒนา ภัทราวุธ พุกพิบูลย์ (21)
ผลรวม 53,436 100.00
บัตรดี 53,436 73.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,172 8.44
บัตรเสีย 13,530 18.50
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,138 64.44
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,492 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

เขต 4 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอบางพลี อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลแพรกษาใหม่และตำบลแพรกษา) และกิ่งอำเภอบางเสาธง (เฉพาะตำบลศีรษะจรเข้น้อย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย จิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์ (7) 26,453 40.44
ประชาธิปัตย์ สุวัจชัย ฉัตรชุมสาย (16) 17,548 26.83
ราษฎร พูนผล อัศวเหม (13)* 11,752 17.97
ชาติพัฒนา นันทนิจ กุลเจริญ (21) 5,853 8.95
ประชากรไทย ว่าที่ร้อยตรี อำพล ขำเพ็ง (18) 2,934 4.49
ความหวังใหม่ วรรณะ ยศขำ (5) 723 1.11
เกษตรมหาชน สมจิตต์ ช้างวิเศษ (35) 144 0.22
ถิ่นไทย ยุทธนา นภาดล (11)
แรงงานไทย ปัญญา น้อยสำฤทธิ์ (22)
ผลรวม 65,407 100.00
บัตรดี 65,407 81.82
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,227 7.79
บัตรเสีย 8,309 10.39
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,943 67.23
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 118,906 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

เขต 5 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอบางบ่อ อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปูและตำบลบางปูใหม่) และ กิ่งอำเภอบางเสาธง (ยกเว้นตำบลศีรษะจรเข้น้อย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สลิลทิพย์ ชัยสดมภ์ (7) 27,833 44.27
ราษฎร วรพล อัศวเหม (13) 13,857 22.04
ประชาธิปัตย์ สนิท ชูทัพ (16) 11,149 17.73
ความหวังใหม่ สุรินทร์ เศรษฐศิโรตม์ (5) 4,309 6.85
ชาติพัฒนา อธิป หวังในธรรม (21) 1,960 3.12
ถิ่นไทย วิโรจน์ แสงสว่าง (11) 1,763 2.80
ประชากรไทย เกษม พรมสุข (18) 1,047 1.67
เกษตรมหาชน สมศักดิ์ ช้างวิเศษ (35) 385 0.61
ชาวไทย สุชาติ สวงโท (2) 351 0.56
แรงงานไทย เสรี หนูวงศ์ (22) 213 0.34
ผลรวม 62,867 100.00
บัตรดี 62,867 85.29
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,873 5.25
บัตรเสีย 6,974 9.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,714 63.40
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,267 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

เขต 6 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจากและตำบลบางครุ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร เรวดี รัศมิทัต (13) 19,964 31.18
ชาติพัฒนา สนิท กุลเจริญ (21)* 19,519 30.48
ไทยรักไทย สมชาย อินทรขาว (7) 14,339 22.39
ประชาธิปัตย์ ทัศนัย ตันอังสนากุล (16) 6,345 9.91
ความหวังใหม่ ธนพร มีไมตรีจิตต์ (5) 2,109 3.29
ถิ่นไทย สำเริง น้อยวานิช (11) 1,763 2.75
กิจสังคม กิตติชัย หทยะวัฒน์ (34)
ผลรวม 64,039 100.00
บัตรดี 64,039 85.16
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,942 6.57
บัตรเสีย 6,217 8.27
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,198 66.47
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,131 100.00
ราษฎร ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย

การเลือกตั้งใหม่ แก้

ในภายหลังประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติให้ใบเหลืองแก่นางสาวเรวดี รัศมิทัต ว่าที่ ส.ส.เขต 6 จังหวัดสมุทรปราการ พรรคราษฎร และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 6 จังหวัดสมุทรปราการ โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 29 มกราคม 2544

ซึ่งในกรณีที่ถูกใบเหลืองและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง

เขต 6 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจากและตำบลบางครุ)

ผลการเลือกตั้งใหม่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร เรวดี รัศมิทัต (13)   19,115 37.69 +6.51
ชาติพัฒนา สนิท กุลเจริญ (21)✔ 18,909 37.29 +6.81
ไทยรักไทย สมชาย อินทรขาว (7) 10,147 20.01 -2.38
ประชาธิปัตย์ ทัศนัย ตันอังสนากุล (16) 2,013 3.97 -5.94
ความหวังใหม่ ธนพร มีไมตรีจิตต์ (5) 307 0.61 -2.68
ถิ่นไทย สำเริง น้อยวานิช (11) 223 0.44 -2.31
กิจสังคม กิตติชัย หทยะวัฒน์ (34)
ผลรวม 50,714 100.00
บัตรดี 50,714 91.84
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,273 4.12
บัตรเสีย 2,229 4.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 55,216 48.81
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,131 100.00
ราษฎร รักษาที่นั่ง

อ้างอิง แก้

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 May 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้