จังหวัดตากในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดตาก กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

จังหวัดตากในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน386,083
ผู้ใช้สิทธิ76.81%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ อนาคตใหม่
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ 3 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง2 Steady0
คะแนนเสียง 81,735 62,309 47,894
% 30.67 23.38 17.97

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

ภาพรวม แก้

แบ่งตามพรรค แก้

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 3 81,735 30.67% 2  2 66.67%
ประชาธิปัตย์ 3 62,309 23.38% 1  2 33.33%
อนาคตใหม่ 3 47,894 17.97% 0   0.00%
อื่น ๆ 73 74,391 27.98% 0   0.00%
ผลรวม 82 266,329 100.00% 3   100.00%

แบ่งตามเขต แก้

เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 43,787 40.74% 16,142 15.02% 19,664 18.29% 27,894 25.95% 107,487 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 17,164 21.64% 32,929 41.52% 18,314 23.09% 10,909 13.75% 79,316 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 20,784 26.13% 13,238 16.65% 9,916 12.47% 35,588 44.75% 79,526 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 81,735 30.67% 62,309 23.38% 47,894 17.97% 74,391 27.98% 266,329 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต แก้

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองตาก อำเภอวังเจ้า อำเภอสามเงาและอำเภอบ้านตาก (ยกเว้นตำบลท้องฟ้าและตำบลเกาะตะเภา)

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2565 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตาก เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ (10)✔ 43,787 40.74
อนาคตใหม่ นัสชัย มูลสาย (1) 19,664 18.29
ประชาธิปัตย์ เธียรชัย สุวรรณเพ็ญ (2)* 16,142 15.02
เพื่อชาติ ณพล ชยานนท์ภักดี (3) 10,954 10.19
ภูมิใจไทย ประสงค์ นามเสถียร (8) 9,217 8.57
เสรีรวมไทย ศรีทอง ศรีธิทอง (6) 2,298 2.14
พลังท้องถิ่นไท ไพศาล ชมภู (4) 757 0.70
รวมพลังประชาชาติไทย เอกสิทธิ์ คุ้มอรุณรัตนกุล (13) 680 0.63
ชาติไทยพัฒนา เศรษฐสิน สีม่วงคำทวีสิน (5) 595 0.55
พลังไทยรักไทย ถกลวิทย์ เดือนแจ่ม (20) 584 0.54
พลังชาติไทย สุริยา มาเกิด (17) 507 0.47
ประชาภิวัฒน์ เอนก สีหมอก (11) 363 0.34
ประชาชาติ หม่อ แซ่ว่าง (21) 279 0.26
พลังประชาธิปไตย ร้อยตรี ไพศาล สุขใส (19) 271 0.25
ประชาธรรมไทย สุริยา แก้วเสน (7) 229 0.21
กรีน วณิชชา บุพการีพร (22) 224 0.21
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย บุ้น คุ้มอรุณรัตนกุล (12) 218 0.20
ครูไทยเพื่อประชาชน ส้มกลิ่น มีสุข (18) 163 0.15
แทนคุณแผ่นดิน ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ วนกรกุล (23) 145 0.13
ไทรักธรรม ธิติพัทธ์ จิระธนันท์กุล (25) 138 0.13
ประชานิยม อรทัย เกิดแสง (14) 79 0.07
พลังปวงชนไทย ยุทธธนา โพธิวงษ์ (16) 76 0.07
ผึ้งหลวง มัลลิกา กุศล (24) 64 0.06
ประชาชนปฏิรูป ร้อยตำรวจโท สงวนศักดิ์ สังข์สำราญสกุล (15) 53 0.05
ไทยรักษาชาติ ชัยยุทธ แสงนุช (9)
ผลรวม 107,487 100.00
บัตรดี 107,487
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,143 2.66
บัตรเสีย 7,396 6.27
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 118,026 74.68
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 158,051 100
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภออุ้มผาง อำเภอพบพระและอำเภอแม่สอด (ยกเว้นตำบลแม่กาษา ตำบลท่าสายลวด และตำบลแม่ปะ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตาก เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ (4)* 32,929 41.52
อนาคตใหม่ เงินตรา ทั้งเกสร (3) 18,314 23.09
พลังประชารัฐ ฑีฆะพล ทวีเกื้อกูลกิจ (5) 17,164 21.64
เสรีรวมไทย พันตำรวจโท ปรีชา โพธิยา (8) 2,116 2.67
ประชาชาติ วิสุทธิชัย ยั่งยงสกุล (16) 1,603 2.02
กรีน ศุภชัย มาลีศรีอมร (24) 1,012 1.28
เพื่อชาติ ธีรยุทธ วงษ์แหวน (13) 946 1.19
พลังท้องถิ่นไท ณัฐวัฒน์ ชัยสงค์ (10) 641 0.81
พลเมืองไทย ศุภฤกษ์ กาวินำ (25) 588 0.74
ประชานิยม บุบผาวรรณ บุญชู (1) 467 0.59
พลังไทยรักไทย ขวัญตา อ๊ะนา (23) 451 0.57
รวมพลังประชาชาติไทย หยดฝน ผู้กำจัด (2) 445 0.56
ชาติไทยพัฒนา จันทรัสม์ ศรีสมุทร (6) 366 0.46
ภูมิใจไทย อำพร นันทหาร (19) 343 0.43
สังคมประชาธิปไตยไทย วิรัตน์ ธงชัยธนากุล (12) 322 0.41
ครูไทยเพื่อประชาชน ภาคภูมิ เจริญชัยสกุลคีรี (21) 191 0.24
เพื่อแผ่นดิน สมพงษ์ ต่ำจันทร์ (17) 187 0.24
ประชาธรรมไทย มานิต เกิดมูล (11) 171 0.22
พลังปวงชนไทย สุรพล โปทาคำ (15) 169 0.21
ประชาภิวัฒน์ ญาณพัฒน์ ไพรมีทรัพย์ (7) 167 0.21
พลังชาติไทย ว่าที่พันตรี มังกร รำพรรณนิยม (14) 150 0.19
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ประดิษฐ์ รุ่งศรี (18) 149 0.19
แทนคุณแผ่นดิน สวัสดิ์ เสนแก้ว (26) 96 0.12
พลังรัก กุศล ต่อติด (22) 96 0.12
ประชาชนปฏิรูป สุทธิเกียรติ บุตรา (20) 73 0.09
ผึ้งหลวง กมล ผอบทิพย์ (27) 63 0.08
ไทรักธรรม เพ็ญนภา จันทรมณฑล (29) 56 0.07
พลังแผ่นดินทอง ประกิต นิธิกุล (28) 41 0.05
ไทยรักษาชาติ วราทิต ไชยนันทน์ (9)
เศรษฐกิจใหม่ วิษณุ เนียมพา (30)
ผลรวม 79,316 100.00
บัตรดี 79,316
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,659 1.85
บัตรเสีย 8,708 9.71
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,683 77.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,773 100
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 3 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วย อำเภอท่าสองยาง อำเภอแม่ระมาด อำเภอบ้านตาก (เฉพาะตำบลท้องฟ้าและตำบลเกาะตะเภา) และอำเภอแม่สอด (เฉพาะตำบลแม่กาษา ตำบลท่าสายลวดและตำบลแม่ปะ)

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายภาคภูมิ บูลย์ประมุข ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2565 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา[2] และคาดว่าถูกขับออกจากพรรคหลังจากพบว่ากลับมาเป็นสมาชิกพรรคพลังประชารัฐอีกครั้งหนึ่ง[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตาก เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ภาคภูมิ บูลย์ประมุข (3) 20,784 26.13
เพื่อไทย ชัยณรงค์ มะเดชะ (9) 19,244 24.20
ประชาธิปัตย์ ธนิตพล ไชยนันทน์ (8)* 13,238 16.65
อนาคตใหม่ อภิสิทธิ์ สายธารอิสระ (11) 9,916 12.47
เพื่อชาติ อมรเทพ นันตาสาย (5) 4,389 5.52
ภูมิใจไทย สุกัลยา โชคบำรุง (7) 3,047 3.83
เสรีรวมไทย พันตำรวจโท ปฐมพงษ์ ก่อพาราภิรมย์ (2) 2,072 2.61
ประชาภิวัฒน์ วารี ฉันพลันรังสี (6) 1,444 1.82
ประชาธรรมไทย เสน่ห์ วินิจชอบ (1) 721 0.91
แทนคุณแผ่นดิน สนิท แก้วตา (23) 704 0.89
เศรษฐกิจใหม่ กฤษฎา กาวิใจ (27) 580 0.73
ประชานิยม อบเชย กันใจ (10) 498 0.63
ชาติไทยพัฒนา สงกรานต์ พลบูรณ์ (12) 316 0.40
พลเมืองไทย มนูญ สุขวรรณ (21) 292 0.37
พลังท้องถิ่นไท ชลชัย สุโพธิ์ (18) 283 0.36
พลังปวงชนไทย จิดาภา เพ็ญธิยะ (17) 253 0.32
พลังไทยรักไทย ปทิตตา อชิรธัญธร (22) 252 0.32
พลังชาติไทย บรรเลง เที่ยงตรง (16) 238 0.30
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย มงคล แสงนิล (13) 237 0.30
ครูไทยเพื่อประชาชน ประจิน พิณภ์โกศล (19) 202 0.25
เพื่อแผ่นดิน สุเทพ ตามาสา (25) 181 0.23
รวมพลังประชาชาติไทย พูลศักดิ์ ตันยา (15) 160 0.20
ประชาชนปฏิรูป สกนธ์ สังข์สำราญสกุล (14) 131 0.16
ผึ้งหลวง ทองม้วน สิทธิแก้ว (24) 125 0.16
ไทรักธรรม จรัญ จี๋ก๋อย (26) 110 0.14
พลังรัก ภัทรศยา สุภาสุข (20) 109 0.14
ไทยรักษาชาติ ศิริกุล อนุตรพงศ์ (4)
ผลรวม 79,526 100.00
บัตรดี 79,526
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,070 1.20
บัตรเสีย 8,582 9.66
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,854 79.15
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 112,259 100
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

อ้างอิง แก้

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.
  2. 2.0 2.1 ""พรรคเศรษฐกิจไทย" แจ้ง "สภาฯ" 18ส.ส. ที่ถูก "พปชร." ขับ ย้ายเข้าสังกัดแล้ว". bangkokbiznews. 2022-01-28.
  3. 'ธรรมนัส' หนีบ 11 ส.ส.เศรษฐกิจไทยย่องเงียบสมัคร 'พรรคพลังประชารัฐ' แล้ว https://www.thaipost.net/hi-light/320199/

แหล่งข้อมูลอื่น แก้