จอมพลเรือ (ประเทศไทย)
ยศทหารชั้นสูงสุดของกองทัพเรือไทย
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
จอมพลเรือ เป็นยศทหารชั้นสูงสุดของกองทัพเรือไทย โดยมียศที่เทียบเท่ากันของทั้งสามเหล่าทัพ ได้แก่ จอมพล (ทหารบก) และจอมพลอากาศ (ทหารอากาศ) โดยเป็นยศสูงกว่าพลเรือเอก และเป็นรองแต่เพียงจอมทัพไทยเท่านั้น (จอมทัพเป็นตำแหน่งมิใช่ยศทางการทหาร จอมทัพไทยหรือพระมหากษัตริย์ทรงดำรงยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ) ตำแหน่งนี้ได้รับการก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2431 ซึ่งตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
จอมพลเรือ | |
---|---|
อินทรธนูจอมพลเรือไทย | |
ธงหมายยศจอมพลเรือไทย | |
ประเทศ | ไทย |
สังกัต | กองทัพเรือไทย |
ระดับยศ | ยศห้าดาว |
สถาปนา | พ.ศ. 2431 |
ยศที่สูงกว่า | จอมทัพไทย |
ยศที่ต่ำกว่า | พลเรือเอก |
ยศที่คล้ายคลึง |
|
รายพระนามจอมทัพเรือไทย
แก้พระมหากษัตริย์ไทยทรงดำรงตำแหน่ง จอมทัพไทย ดำรงพระยศจอมพลเรือ
พระบรมฉายาลักษณ์ | พระนาม | วันเถลิงถวัลยราชสมบัติ | วันถวายเครื่องหมายพระยศจอมพลเรือ | วันสิ้นสุดรัชกาล |
---|---|---|---|---|
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 | 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446[1] | 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 (สวรรคต) | |
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว | 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 | 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453[2][3] | 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 (สวรรคต) | |
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว | 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 | 5 ธันวาคม พ.ศ. 2468[4][5][6] | 2 มีนาคม พ.ศ. 2478 (สละราชสมบัติ) | |
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร | 2 มีนาคม พ.ศ. 2478 | – | 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 (สวรรคต) | |
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร | 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 | 24 มีนาคม พ.ศ. 2493[7] | 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (สวรรคต) | |
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว | 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | – | ยังอยู่ในราชสมบัติ |
รายพระนามและรายนามจอมพลเรือ
แก้วันแต่งตั้ง | ภาพ | จอมพลเรือ | เกิด | เสียชีวิต | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
30 ธันวาคม พ.ศ. 2456 | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ม.จ.ก. น.ร. ป.จ.ว. ร.ว. ส.ร. ม.ป.ช. (ภายหลัง สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช)[8][9] |
11 มกราคม พ.ศ. 2403 | 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 | นอกจากนี้ยังเป็น จอมพล เสนาบดีกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2444–2453) ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ (พ.ศ. 2445–2446) ผู้กำกับราชการกระทรวงทหารเรือ (พ.ศ. 2463–2465) | |
30 ธันวาคม พ.ศ. 2460 | สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมหลวงนครสวรรค์วรพินิต ม.จ.ก. น.ร. ป.จ.ว. ร.ว. ส.ร. ม.ป.ช. (ภายหลัง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต)[10][11] |
29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 | 18 มกราคม พ.ศ. 2487 | นอกจากนี้ยังเป็น จอมพล ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (พ.ศ. 2475) เสนาบดีกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2469–2471) ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ (พ.ศ. 2446–2453) เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ (พ.ศ. 2453–2463) | |
28 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 | หลวงพิบูลสงคราม น.ร. ร.ว. ป.จ. ม.ป.ช. ม.ว.ม. ร.ก. (ภายหลัง แปลก พิบูลสงคราม)[12][13] |
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 | 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 | นอกจากนี้ยังเป็น จอมพล และ จอมพลอากาศ นายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2481–2487; 2491–2500) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2477–2484; 2484–2486; 2492–2500) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด (พ.ศ. 2483–2484; 2484–2487) | |
1 มกราคม พ.ศ. 2499 | หลวงยุทธศาสตร์โกศล ม.ป.ช. ม.ว.ม. ท.จ.ว. ช.ส. พ.ร.ธ. ช.ร.[14] | 19 ตุลาคม พ.ศ. 2436 | 11 ธันวาคม พ.ศ. 2518 | นอกจากนี้ยังเป็น พลเอก และ พลอากาศเอก รองนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2500) ผู้บัญชาการทหารเรือ (พ.ศ. 2494–2500) | |
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 | สฤษดิ์ ธนะรัชต์ น.ร. ป.จ. ส.ร. ม.ป.ช. ม.ว.ม. ช.ส.[15][16] | 16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 | 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 | นอกจากนี้ยังเป็น จอมพล และ จอมพลอากาศ นายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2502–2506) หัวหน้าคณะปฏิวัติ (พ.ศ. 2500; 2501–2502) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2500) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด (พ.ศ. 2500–2506) | |
10 มกราคม พ.ศ. 2507 | ถนอม กิตติขจร ป.จ. ส.ร. ม.ป.ช. ม.ว.ม. ร.ก. ช.ส.[17][18] | 11 สิงหาคม พ.ศ. 2454 | 16 มิถุนายน พ.ศ. 2547 | นอกจากนี้ยังเป็น จอมพล และ จอมพลอากาศ นายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2501; 2506–2514; 2515–2516) ประธานสภาบริหารคณะปฏิวัติ (พ.ศ. 2514–2515) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2500–2514; 2515–2516) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด (พ.ศ. 2506–2516) | |
1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 | ประภาส จารุเสถียร ป.จ. ส.ร. ม.ป.ช. ม.ว.ม. ร.ด.ม. (ห) ช.ส.[19] | 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 | 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540 | นอกจากนี้ยังเป็น จอมพล และ จอมพลอากาศ รองนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2501; 2506–2514; 2515–2516) รองประธานสภาบริหารคณะปฏิวัติ (พ.ศ. 2514–2515) | |
19 สิงหาคม พ.ศ. 2535 | สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ม.จ.ก. น.ร. ป.จ. ม.ป.ช. ม.ว.ม. ป.ภ. (ภายหลัง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง)[20] |
12 สิงหาคม พ.ศ. 2475 | ยังมีพระชนม์ชีพอยู่ | นอกจากนี้ยังเป็น จอมพล และ จอมพลอากาศ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (พ.ศ. 2499) | |
8 มกราคม พ.ศ. 2541 | สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ม.จ.ก. น.ร. ป.จ.ว. ป.ม. จ.ป.ร. ๑ ว.ป.ร. ๑[21] | 1 มกราคม พ.ศ. 2435 | 24 กันยายน พ.ศ. 2472 | นอกจากนี้ยังเป็น พันเอก (พิเศษ) และเดิมเป็น นาวาเอก ได้รับถวายยศหลังจากสวรรคต อาจารย์นายเรือ (พ.ศ. 2457) |
ธงหมายยศ
แก้-
ธงหมายยศจอมพลเรือสยาม
(พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2479) -
ธงหมายยศจอมพลเรือสยาม
(พ.ศ. 2479 - พ.ศ. 2499) -
ธงหมายยศจอมพลเรือไทย
(พ.ศ. 2499 - พ.ศ. 2522)
อ้างอิง
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ จอมพลเรือ (ประเทศไทย)
- ↑ "กรมทหารบกทูลเกล้า ฯ ถวายคทาจอมพลแลมีการสมโภช" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-14. สืบค้นเมื่อ 2018-06-15.
- ↑ "นายทหารเรือเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้า ฯ ถวายเครื่องยศจอมพลทหารเรือ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-06-15. สืบค้นเมื่อ 2018-06-15.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-06-15. สืบค้นเมื่อ 2018-06-15.
- ↑ "นายทหารบกนายทหารเรือนำเครื่องจอมพลทหารบกและจอมพลเรือทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-14. สืบค้นเมื่อ 2018-06-15.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-14. สืบค้นเมื่อ 2018-06-15.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-14. สืบค้นเมื่อ 2018-06-15.
- ↑ กำหนดการ รับเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินนิวัตต์สู่ราชอาณาจักรไทย ๒๔๙๓
- ↑ Royal Gazette, Awarding of Naval Commissions เก็บถาวร 2016-08-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Volume 30, Page 2441, 18 January 2456 B.E.
- ↑ Royal Thai Army. "จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงษ์". www.rta.mi.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 September 2016. สืบค้นเมื่อ 27 July 2016.
- ↑ Royal Gazette, Awarding of Military Commissions เก็บถาวร 2016-08-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Volume 34, Page 2867, 31 December 2460 B.E.
- ↑ Royal Thai Army. "จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์". www.rta.mi.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 September 2016. สืบค้นเมื่อ 27 July 2016.
- ↑ Royal Gazette, Announcement of Royal Decree เก็บถาวร 2011-11-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Volume 58, Page 981, 28 July 2484 B.E.
- ↑ Royal Thai Army. "จอมพล หลวงพิบูลสงคราม ( จอมพล แปลก พิบูลสงคราม )". www.rta.mi.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 August 2002. สืบค้นเมื่อ 27 July 2016.
- ↑ Royal Gazette, ประกาศสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศทหาร เก็บถาวร 2016-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Royal Gazette, Announcement from the Secretariat of the Cabinet pertaining to the awarding of military ranks เก็บถาวร 2016-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Volume 76, Chapter 28, Page 12, 28 February 2502 B.E.
- ↑ Royal Thai Army. "จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์". www.rta.mi.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2002. สืบค้นเมื่อ 27 July 2016.
- ↑ Royal Gazette, Announcement from the Office of the Prime Minister pertaining to the awarding of military ranks เก็บถาวร 2016-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Volume 81, Chapter 3, Page 1, 11 January 2507 B.E.
- ↑ Royal Thai Army. "จอมพล ถนอม กิตติขจร". www.rta.mi.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 September 2012. สืบค้นเมื่อ 27 July 2016.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-14. สืบค้นเมื่อ 2018-08-06.
- ↑ Royal Gazette, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศทหาร เก็บถาวร 2016-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Royal Gazette, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศทหาร เก็บถาวร 2011-12-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน