ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี

(เปลี่ยนทางจาก ฟุตบอลเอเชียเยาวชน)

ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี (อังกฤษ: AFC U-20 Asian Cup) เดิมเรียกว่า ฟุตบอลเอเชียเยาวชน (อังกฤษ: AFC Youth Championship) และ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี (อังกฤษ: AFC U-19 Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลสำหรับผู้เล่นอายุไม่เกิน 20 ปี จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี จัดโดยเอเอฟซี เริ่มในปี พ.ศ. 2502 โดยมีการจัดแข่งขันทุกปีจนกระทั่งในปี พ.ศ. 2523 ได้เปลี่ยนมาจัดทุก ๆ 2 ปีแทน โดย 4 ทีมสุดท้ายจะได้สิทธิเข้าร่วมแข่งขันใน ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 20

ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
ผู้จัดAFC
ก่อตั้ง1959; 65 ปีที่แล้ว (1959)
ภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนีย
จำนวนทีม16
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน อุซเบกิสถาน
(ครั้งแรก)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด เกาหลีใต้
(12 ครั้ง)
2023 AFC U-20 Asian Cup

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย หรือ เอเอฟซี (AFC) ได้ปรับเปลี่ยนการแข่งขันจากระดับอายุไม่เกิน 19 ปี เป็นอายุไม่เกิน 20 ปี โดยเริ่มในการแข่งขันตั้งแต่ปี ค.ศ. 2023[1]และเปลี่ยนชื่อการแข่งขันเป็น "ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี"[2]

ทีมที่ชนะเลิศมากที่สุดคือ ทีมชาติเกาหลีใต้ ชนะเลิศทั้งหมด 12 ครั้ง ส่วนทีมชาติไทยเคยชนะเลิศ 2 ครั้ง

ผลการแข่งขัน

แก้
ครั้งที่ ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1 1959   มาลายา  
เกาหลีใต้
3  
มาลายา
 
ญี่ปุ่น
3  
ฮ่องกง
2 1960 แม่แบบ:Country data มาลายา  
เกาหลีใต้
4–0  
Malaya
 
ญี่ปุ่น
3–2  
อินโดนีเซีย
3 1961   ไทย  
อินโดนีเซีย

 
พม่า
0–0
1
 
ไทย
2–1  
เวียดนามใต้
4 1962   ไทย  
ไทย
2–1  
เกาหลีใต้
 
อินโดนีเซีย
3–0  
Malaya
5 1963   มาลายา  
เกาหลีใต้

 
พม่า
2–2
1
 
ไทย
 
ฮ่องกง
2–2
2
6 1964   เวียดนามใต้  
พม่า

 
อิสราเอล
0–0
1
 
มาเลเซีย
5–1  
เกาหลีใต้
7 1965   ญี่ปุ่น  
อิสราเอล
5–0  
พม่า
 
มาเลเซีย
4–1  
ฮ่องกง
8 1966   ฟิลิปปินส์  
อิสราเอล

 
พม่า
1–1
1
 
สาธารณรัฐจีน[3]
 
ไทย
0–0
2
9 1967   ไทย  
อิสราเอล
3–0  
อินโดนีเซีย
 
พม่า
4–0  
สิงคโปร์
10 1968   เกาหลีใต้  
พม่า
4–0  
มาเลเซีย
 
เกาหลีใต้
 
อิสราเอล
0–0
2
11 1969   ไทย  
พม่า

 
ไทย
2–2
1
 
อิหร่าน
2–1  
อิสราเอล
12 1970   ฟิลิปปินส์  
พม่า
3–0  
อินโดนีเซีย[4]
 
เกาหลีใต้
5–0  
ญี่ปุ่น
13 1971   ญี่ปุ่น  
อิสราเอล
1–0  
เกาหลีใต้
 
พม่า
2–0  
ญี่ปุ่น
14 1972   ไทย  
อิสราเอล
1–0  
เกาหลีใต้
 
อิหร่าน
3–0  
ไทย
15 1973   อิหร่าน  
อิหร่าน
2–0  
ญี่ปุ่น
 
เกาหลีใต้
3–0  
ซาอุดีอาระเบีย
16 1974   ไทย  
อินเดีย

 
อิหร่าน
2–2
1
 
เกาหลีใต้
2–1  
ไทย
17 1975   คูเวต  
อิรัก

 
อิหร่าน
0–0
1
 
คูเวต
 
เกาหลีเหนือ
2–2
2
18 1976   ไทย  
อิหร่าน

 
เกาหลีเหนือ
0–0
1
 
เกาหลีใต้
2–1  
ไทย
19 1977   อิหร่าน  
อิรัก
4–3  
อิหร่าน
 
บาห์เรน
3–1  
ญี่ปุ่น
20 1978   บังกลาเทศ  
อิรัก

 
เกาหลีใต้
1–1
1
 
เกาหลีเหนือ
 
คูเวต
1–1
2
1979   จีน ยกเลิกเนื่องจากมีปัญหากับทีมชาติเกาหลีใต้ในการเข้าประเทศจีน
21 1980   ไทย  
เกาหลีใต้
3  
กาตาร์
 
ญี่ปุ่น
3  
ไทย
22 1982   ไทย  
เกาหลีใต้
3  
จีน
 
อิรัก
3  
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
23 1985   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  
จีน
3  
ซาอุดีอาระเบีย
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
3  
ไทย
24 1986   ซาอุดีอาระเบีย  
ซาอุดีอาระเบีย
2–0  
บาห์เรน
 
เกาหลีเหนือ
1–0  
กาตาร์
25 1988   กาตาร์  
อิรัก
1–1

(ดวลลูกโทษ 5–4)
 
ซีเรีย
 
กาตาร์
2–0  
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
26 1990   อินโดนีเซีย  
เกาหลีใต้
0–0

(ดวลลูกโทษ 4–3)
 
เกาหลีเหนือ
 
ซีเรีย
1–0  
กาตาร์
27 1992   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  
ซาอุดีอาระเบีย
2–0  
เกาหลีใต้
 
ญี่ปุ่น
3–0  
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
28 1994   อินโดนีเซีย  
ซีเรีย
2–1  
ญี่ปุ่น
 
ไทย
1–1

(ดวลลูกโทษ 3–2)
 
อิรัก
29 1996   เกาหลีใต้  
เกาหลีใต้
3–0  
จีน
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2–2

(ดวลลูกโทษ 4–3)
 
ญี่ปุ่น
30 1998   ไทย  
เกาหลีใต้
2–1  
ญี่ปุ่น
 
ซาอุดีอาระเบีย
3–1  
คาซัคสถาน
31 2000   อิหร่าน  
อิรัก
2–1
(ต่อเวลา)
 
ญี่ปุ่น
 
จีน
2–2
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 8–7)
 
อิหร่าน
32 2002   กาตาร์  
เกาหลีใต้
1–0
(ต่อเวลา)
 
ญี่ปุ่น
 
ซาอุดีอาระเบีย
4–0  
อุซเบกิสถาน
33 2004   มาเลเซีย  
เกาหลีใต้
2–0  
จีน
 
ญี่ปุ่น
1–1

(ดวลลูกโทษ 4–3)
 
ซีเรีย
34 2006   อินเดีย  
เกาหลีเหนือ
1–1
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 5–3)
 
ญี่ปุ่น
 
เกาหลีใต้
2–0  
จอร์แดน
ครั้งที่ ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ แพ้รอบรองชนะเลิศ 4
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ
35 2008   ซาอุดีอาระเบีย  
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2–1  
อุซเบกิสถาน
  ออสเตรเลีย และ   เกาหลีใต้
36 2010   จีน  
เกาหลีเหนือ
3–2  
ออสเตรเลีย
  ซาอุดีอาระเบีย และ   เกาหลีใต้
37 2012   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  
เกาหลีใต้
1–1

(ดวลลูกโทษ 4–1)
 
อิรัก
  ออสเตรเลีย และ   อุซเบกิสถาน
38 2014   พม่า  
กาตาร์
1–0  
เกาหลีเหนือ
  พม่า และ   อุซเบกิสถาน
39 2016   บาห์เรน  
ญี่ปุ่น
0–0
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 5–3)
 
ซาอุดีอาระเบีย
  อิหร่าน และ   เวียดนาม
40 2018   อินโดนีเซีย  
ซาอุดีอาระเบีย
2–1  
เกาหลีใต้
  ญี่ปุ่น และ   กาตาร์
2020   อุซเบกิสถาน ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 [5]
41 2023   อุซเบกิสถาน  
อุซเบกิสถาน
1–0  
อิรัก
  ญี่ปุ่น และ   เกาหลีใต้
42 2025   จีน
หมายเหตุ
1 ครองแชมป์ร่วมกัน
2 ครองอันดับที่ 3 ร่วมกัน
3 การแข่งขันรอบสุดท้ายในรูปแบบพบกันหมด
4 ไม่มีการแข่งขันรอบที่สามตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008; ทีมที่แพ้รอบรองชนะเลิศเรียงตามตัวอักษร

ความสำเร็จในฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี

แก้
ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม อันดับที่สี่ ก่อนชิงชนะเลิศ
  เกาหลีใต้ 12 (1959, 1960, 1963, 1978, 1980, 1982, 1990, 1996*, 1998, 2002, 2004, 2012) 5 (1962, 1971, 1972, 1992, 2018) 4 (1968*, 1970, 1976, 2006) 1 (1961) 3 (2008, 2010, 2023)
  พม่า 7 (1961, 1963, 1964, 1966, 1968, 1969, 1970) 1 (1965) 2 (1967, 1971) - 1 (2014*)
  อิสราเอล 6 (1964, 1965, 1966, 1967, 1971, 1972) - 1 (1968) 1 (1969) -
  อิรัก 5 (1975, 1977, 1978, 1988, 2000) 2 (2012, 2023) 1 (1982) 1 (1994) -
  อิหร่าน 4 (1973*, 1974, 1975, 1976) 1 (1977*) 1 (1969) 1 (2000*) -
  เกาหลีเหนือ 3 (1976, 2006, 2010) 2 (1990, 2014) 3 (1975, 1978, 1986) - -
  ซาอุดีอาระเบีย 3 (1986*, 1992, 2018) 1 (1985) 2 (1998, 2002) - 1 (2010)
  ไทย 2 (1962*, 1969*) - 4 (1961*, 1963, 1966, 1994) 3 (1976*, 1980*, 1985) -
  จีน 1 (1985) 3 (1982, 1996, 2004) 1 (2000) - -
  อินโดนีเซีย 1 (1961) 2 (1967, 1970) 1 (1962) 2 (1960, 1964) -
  กาตาร์ 1 (2014) 1 (1980) 1 (1988*) 2 (1986, 1990) 1 (2018)
  ซีเรีย 1 (1994) 1 (1988) 1 (1990) 1 (2004) -
  อุซเบกิสถาน 1 (2023) 1 (2008) - 3 (2002, 2012, 2014) 3 (2002, 2012, 2014)
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1 (2008) - 2 (1985*, 1996) 3 (1982, 1988, 1992*) -
  อินเดีย 1 (1974) - - - -
  ญี่ปุ่น - 6 (1973, 1994, 1998, 2000, 2002, 2006) 4 (1959, 1980, 1992, 2004) 4 (1970, 1971*, 1977, 1996) 2 (2018, 2023)
  มาเลเซีย - 3 (1959*, 1960*, 1968) 1 (1965) 1 (1962) -
  ออสเตรเลีย - 1 (2010) - - 2 (2008, 2012)
  บาห์เรน - 1 (1986) 1 (1977) - -
  คูเวต - - 2 (1975*, 1978) - -
  ฮ่องกง - - 1 (1960) 3 (1959, 1963, 1965) -
  จีนไทเป - - 1 (1966) - -
  เวียดนาม - - 1 (1964*) - -
  สิงคโปร์ - - - 1 (1967) -
  คาซัคสถาน - - - 1 (1998) -
  จอร์แดน - - - 1 (2006) -
* = เจ้าภาพ

เจ้าภาพโดยรวม

แก้
10 ครั้ง
  •   ไทย—1961, 1962, 1967, 1969, 1972, 1974, 1976, 1980, 1982, 1998
4 ครั้ง
3 ครั้ง
2 ครั้ง
1 ครั้ง

อ้างอิง

แก้
  1. "AFC Competitions Committee recommends changes to youth competitions". AFC. 26 November 2018.
  2. "AFC rebrands age group championships to AFC Asian Cups". AFC. 2 October 2020.
  3. "The Straits Times, 16 May 1966, Page 22". สืบค้นเมื่อ 7 June 2013.
  4. "Newspapers – The Straits Times, 3 May 1970, Page 22, Myanmar rout Indons 3–0 in final". สืบค้นเมื่อ 6 June 2013.
  5. "Latest update on AFC Competitions in 2021". AFC. 25 January 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้