จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2522 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน426,158
ผู้ใช้สิทธิ47.68%
  First party Second party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 4 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 2
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา, อำเภอระโนด และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม พันตำรวจโท เปรม รุจิเรข (4) 46,971
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (1)* 43,073
ประชาธิปัตย์ สงบ ทิพย์มณี (3)* 36,761
ประชาธิปัตย์ วีระ สุพัฒนกุล (2)* 32,405
กิจสังคม อุทัย ไชยานุวงศ์ (5) 27,327
ไม่สังกัดพรรค เอกวัฒน์ เวชสิทธิ์ (7) 13,557
กิจสังคม สมพงศ์ ยุทธนา (6) 12,851
ชาติไทย ปรีชา สามัคคีธรรม (9) 12,777
ชาติประชาธิปไตย เปรม บุญเรือง (8) 8,967
สหชาติ พันตำรวจเอก โชคชัย ส่งเจริญ (11) 5,276
ไม่สังกัดพรรค เทพ เทวรังษี (10) 4,429
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุบัน สุวรรณรัตน์ (12) 1,988
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สามารถ เกตตะพันธ์ (13) 1,863
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอนาทวี, อำเภอสะบ้าย้อย และ กิ่งอำเภอนาหม่อม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล (5)* 39,712
ประชาธิปัตย์ ไสว พัฒโน (1)* 39,223
ประชาธิปัตย์ นฤชาติ บุญสุวรรณ (2) 38,802
กิจสังคม จ่าสิบตำรวจ สมบัติ ปัญญาพฤกษ์ (7) 29,055
ประชาธิปัตย์ ประสาท เถกประสิทธิ์ (3) 26,573
ชาติไทย สิริชัย หมื่นจร (8) 17,870
กิจสังคม ชำนาญ บุญศรี (6) 15,261
ชาติไทย ถาวร ทองโชค (9) 10,568
ประชาเสรี ถาวร กุลนิล (4) 6,516
สังคมประชาธิปไตย วิภพ แก้วโชติ (12) 3,099
ไม่สังกัดพรรค เลื่อง บูรณเพชร (10) 2,200
ประชากรไทย อารีย์ พงษ์พยอม (11) 1,465
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526