สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา

จังหวัดสงขลา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 9 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 9 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสงขลา
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต9
คะแนนเสียง322,740 (ประชาธิปัตย์)
132,561 (ภูมิใจไทย)
109,514 (พลังประชารัฐ)
89,058 (รวมไทยสร้างชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาธิปัตย์ (6)
ภูมิใจไทย (1)
พลังประชารัฐ (1)
รวมไทยสร้างชาติ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสงขลามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเจือ ศรียาภัย[2]

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอระโนด และอำเภอกำแพงเพ็ชร์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลาและอำเภอระโนด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอเทพา และอำเภอรัตภูมิ
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา และอำเภอระโนด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี และอำเภอสะบ้าย้อย
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา, อำเภอระโนด และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี และอำเภอสะบ้าย้อย
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา, อำเภอระโนด และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอนาทวี, อำเภอสะบ้าย้อย และกิ่งอำเภอนาหม่อม
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, กิ่งอำเภอกระแสสินธุ์ และกิ่งอำเภอควนเนียง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม และกิ่งอำเภอบางกล่ำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, กิ่งอำเภอกระแสสินธุ์, กิ่งอำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอสิงหนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม และกิ่งอำเภอบางกล่ำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, อำเภอสิงหนคร, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม และกิ่งอำเภอบางกล่ำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, อำเภอสิงหนคร, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม, กิ่งอำเภอบางกล่ำ และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอสิงหนคร, อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอสทิงพระ และอำเภอจะนะ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอนาหม่อม, อำเภอบางกล่ำ, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลหาดใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหาดใหญ่ (ยกเว้นตำบลหาดใหญ่และตำบลทุ่งตำเสา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์ และอำเภอสทิงพระ
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสิงหนคร, อำเภอควนเนียง, อำเภอบางกล่ำ และอำเภอรัตภูมิ (เฉพาะตำบลควนรูและตำบลคูหาใต้)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอคลองหอยโข่ง, อำเภอรัตภูมิ (ยกเว้นตำบลควนรูและตำบลคูหาใต้), อำเภอสะเดา (ยกเว้นตำบลสำนักแต้ว ตำบลปริก และตำบลสำนักขาม) และอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลทุ่งตำเสา)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสะบ้าย้อย, อำเภอนาทวี, อำเภอสะเดา (เฉพาะตำบลสำนักแต้ว ตำบลปริก และตำบลสำนักขาม), และอำเภอเทพา (เฉพาะตำบลลำไพล)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนาหม่อม, อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา (ยกเว้นตำบลลำไพล)
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา, อำเภอสทิงพระ, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอระโนด, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอบางกล่ำ, อำเภอควนเนียง และอำเภอสิงหนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา และอำเภอคลองหอยโข่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาหม่อม, อำเภอนาทวี, อำเภอสะบ้าย้อย, อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลหาดใหญ่ ตำบลคลองแห และตำบลคลองอู่ตะเภา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาหม่อมและอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคูเต่า ตำบลน้ำน้อย ตำบลท่าข้าม ตำบลทุ่งใหญ่ ตำบลคอหงส์ ตำบลควนลัง ตำบลทุ่งตำเสา และตำบลฉลุง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอสทิงพระ และอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลบางเขียด ตำบลม่วงงาม ตำบลวัดขนุน ตำบลรำแดง และตำบลชะแล้)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอรัตภูมิ, อำเภอบางกล่ำ, อำเภอควนเนียง และอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลปากรอ ตำบลป่าขาด ตำบลทำนบ ตำบลชิงโค ตำบลหัวเขา และตำบลสทิงหม้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอคลองหอยโข่ง, อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลบ้านพรุและตำบลพะตง) และอำเภอสะเดา (ยกเว้นตำบลสำนักแต้วและตำบลสำนักขาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสะบ้าย้อย, อำเภอนาทวี และอำเภอสะเดา (เฉพาะตำบลสำนักแต้วและตำบลสำนักขาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอจะนะและอำเภอเทพา
  8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสงขลา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคลองอู่ตะเภาและตำบลหาดใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาหม่อม, อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลพะตง ตำบลบ้านพรุ ตำบลคอหงส์ ตำบลทุ่งใหญ่ ตำบลท่าข้าม และตำบลน้ำน้อย) และอำเภอจะนะ (เฉพาะตำบลจะโหนงและตำบลคลองเปียะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอสทิงพระ และอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลบางเขียด ตำบลม่วงงาม ตำบลวัดขนุน ตำบลรำแดง และตำบลชะแล้)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอรัตภูมิ, อำเภอควนเนียง และอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลปากรอ ตำบลป่าขาด ตำบลทำนบ ตำบลชิงโค ตำบลสทิงหม้อ และตำบลหัวเขา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอคลองหอยโข่งและอำเภอสะเดา
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอนาทวี, อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา (เฉพาะตำบลลำไพล)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอเทพา (ยกเว้นตำบลลำไพล) และอำเภอจะนะ (ยกเว้นตำบลจะโหนงและตำบลคลองเปียะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบางกล่ำและอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคูเต่า ตำบลคลองแห ตำบลควนลัง ตำบลทุ่งตำเสา และตำบลฉลุง)
  9 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

แก้
ชุดที่ 1
พ.ศ. 2476
[3]
นายเจือ ศรียาภัย

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

แก้
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายเอื้อน ณ สงขลา นายเธียร วิปุลากร นายนิสสัย โรจนะหัสดิน นายเจียร ศิริรักษ์
2 นายกล่อม สระโพธิกุล
นายเจือ ศรียาภัย (แทน)*
พระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ) นายคล้าย ละอองมณี นายเช็งจือ ลือประเสริฐ
  • นายกล่อม สระโพธิกุล เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2480

ชุดที่ 5–7 ; พ.ศ. 2491–2495

แก้
ลำดับ ชุดที่ 5 ชุดที่ 7
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2492
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายคล้าย ละอองมณี นายประสิทธิ์ จุลละเกศ
2 ร้อยตำรวจเอก หวน มุตตาหารัช นายคล้าย ละอองมณี
  • การเลือกตั้ง พ.ศ. 2492 เป็นการเลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนราษฎรที่เพิ่มขึ้น

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

แก้
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 8
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
ชุดที่ 9
ธันวาคม พ.ศ. 2500
1 ร้อยตำรวจเอก ประณีต กลิ่นโกสุม นายประสิทธิ์ จุลละเกศ
2 นายคล้าย ละอองมณี
3 นายเชื้อ ทิพย์มณี

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

แก้
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10
พ.ศ. 2512
1 จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล
2 นายประจวบ ชนะภัย
3 นายเชื้อ ทิพย์มณี
4 นายคล้าย ละอองมณี

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 11
พ.ศ. 2518
ชุดที่ 12
พ.ศ. 2519
ชุดที่ 13
พ.ศ. 2522
1 นายคล้าย ละอองมณี นายสงบ ทิพย์มณี
นายวิจิตร สุคันธพันธุ์ ร้อยเอก ละเมียน บุณยะมาน นายวีระ สุพัฒนกุล
นายอำนวย สุวรรณคีรี
2 นายไสว พัฒโน นายอุดม แดงโกเมน นายไสว พัฒโน
จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล

ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526

แก้
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 14
พ.ศ. 2526
1 พันตำรวจโท เปรม รุจิเรข
นายอำนวย สุวรรณคีรี
นายสงบ ทิพย์มณี
2 จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล
นายไสว พัฒโน
นายนฤชาติ บุญสุวรรณ

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชาชนพรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 15
พ.ศ. 2529
ชุดที่ 16
พ.ศ. 2531
ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายอำนวย สุวรรณคีรี นายสุรใจ ศิรินุพงศ์ นายอำนวย สุวรรณคีรี
นายสงบ ทิพย์มณี นายนิพนธ์ บุญญามณี
นายสุรใจ ศิรินุพงศ์ นายนิกร จำนง นายนิกร จำนง นายวินัย เสนเนียม
2 นายไสว พัฒโน
นายนฤชาติ บุญสุวรรณ จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
3 นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี
นายสมนเล๊าะ โปขะรี นายสะเบต หลีเหร็ม พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19
พ.ศ. 2538
ชุดที่ 20
พ.ศ. 2539
1 นายวินัย เสนเนียม
นายนิพนธ์ บุญญามณี
นายอำนวย สุวรรณคีรี
2 นายไสว พัฒโน นายไพร พัฒโน
นายถาวร เสนเนียม
นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
3 พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์
นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21[4]
พ.ศ. 2544
ชุดที่ 22[5]
พ.ศ. 2548
1 นายเจือ ราชสีห์
2 นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
3 นายไพร พัฒโน (ลาออก) นายวิรัตน์ กัลยาศิริ
นายวิรัตน์ กัลยาศิริ (แทนนายไพร)
4 นายวินัย เสนเนียม
5 นายนิพนธ์ บุญญามณี นายประพร เอกอุรุ
6 นายถาวร เสนเนียม
7 นายศิริโชค โสภา
8 พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ นายนาราชา สุวิทย์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23[6]
พ.ศ. 2550
1 นายประพร เอกอุรุ
นายวินัย เสนเนียม (เสียชีวิต) นายชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว (แทนนายวินัย)
นายเจือ ราชสีห์
2 นายถาวร เสนเนียม
นายวิรัตน์ กัลยาศิริ
นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
3 นายศิริโชค โสภา
นายนาราชา สุวิทย์

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 24[7]
พ.ศ. 2554
ชุดที่ 25
พ.ศ. 2562
1 นายเจือ ราชสีห์ นายวันชัย ปริญญาศิริ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
2 นายภิรพล ลาภาโรจน์กิจ นายศาสตรา ศรีปาน
(ลาออกจากพรรค/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
3 นายวิรัตน์ กัลยาศิริ นายพยม พรหมเพชร
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
4 นายชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว ร้อยตำรวจเอก อรุณ สวัสดี
5 นายประพร เอกอุรุ นายเดชอิศม์ ขาวทอง
6 นายถาวร เสนเนียม
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายถาวร เสนเนียม
(พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ)
นางสาวสุภาพร กำเนิดผล
(แทนนายถาวร)
7 นายศิริโชค โสภา นายณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ
8 พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสรรเพชญ บุญญามณี
2 นายศาสตรา ศรีปาน
3 นายสมยศ พลายด้วง
4 นายชนนพัฒฐ์ นาคสั้ว
5 นายเดชอิศม์ ขาวทอง
6 นางสาวสุภาพร กำเนิดผล
7 นายณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ
8 พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่
9 นายศักดิ์สิทธิ์ ขาวทอง

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1
  4. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  5. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  6. รัฐสภาไทย,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  7. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตการเลือกตั้ง จังหวัดสงขลา เก็บถาวร 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สืบค้นวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้