สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (อังกฤษ: Socialist Federal Republic of Yugoslavia, SFR Yugoslavia, SFRY) เป็นประเทศในยุคสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยม ปกครองในยุครัฐคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1992 ในคาบสมุทรบอลข่านและล่มสลายหลังจากสงครามยูโกสลาเวีย ในปี ค.ศ. 1990 และเคยเป็นอดีตรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ ค.ศ. 1948
สหพันธ์สาธารณรัฐประชาชนยูโกสลาเวีย (1945–1963) สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (1963–1992) | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1945–1992 | |||||||||||||||||||
สถานะ | รัฐบริวารของสหภาพโซเวียต ถึงปี 1948 | ||||||||||||||||||
เมืองหลวง | เบลเกรด | ||||||||||||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาทางการ: เซอร์เบีย-โครเอเชีย มาซิโดเนีย สโลวีเนีย ภาษาชนกลุ่มน้อย: แอลเบเนีย ฮังการี ตุรกี | ||||||||||||||||||
การปกครอง | สหพันธ์ ลัทธิมากซ์–เลนิน รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยม (1945–1948) สหพันธ์ ลัทธิตีโต รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยมทางตรงภายใต้ระบอบเผด็จการผู้ทรงคุณ (1948–1980) สหพันธ์ ลัทธิตีโต รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยมทางตรง (1980-1990) สหพันธ์ ระบบรัฐสภา สาธารณรัฐสังคมนิยมทางตรง (1990–1992) | ||||||||||||||||||
ประธานาธิบดี | |||||||||||||||||||
• 1945-1953 | Ivan Ribar (first) | ||||||||||||||||||
• 1953-1980 | ยอซีป บรอซ ตีโต | ||||||||||||||||||
• 1991-1992 | Stjepan Mesić (last) | ||||||||||||||||||
นายกรัฐมนตรี | |||||||||||||||||||
• 1945-1963 | ยอซีป บรอซ ตีโต (first) | ||||||||||||||||||
• 1989-1991 | Ante Marković (last) | ||||||||||||||||||
เลขาธิการ | |||||||||||||||||||
• 1945-1980 | ยอซีป บรอซ ตีโต (first) | ||||||||||||||||||
• 1989-1990 | Milan Pančevski (last) | ||||||||||||||||||
สภานิติบัญญัติ | ประธานรัฐสภา | ||||||||||||||||||
• สภาสูง | Chamber of Republics and Provinces | ||||||||||||||||||
• สภาล่าง | Federal Chamber | ||||||||||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามเย็น | ||||||||||||||||||
• Proclamation | 29 พฤศจิกายน 1945 | ||||||||||||||||||
24 ตุลาคม 1945 | |||||||||||||||||||
• Constitutional reform | 21 กุมภาพันธ์ 1974 | ||||||||||||||||||
25 มิถุนายน 1991 - 27 เมษายน 1992 | |||||||||||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||||||||||
กรกฎาคม 1989 | 255,804 ตารางกิโลเมตร (98,766 ตารางไมล์) | ||||||||||||||||||
ประชากร | |||||||||||||||||||
• กรกฎาคม 1989 | 23724919 | ||||||||||||||||||
สกุลเงิน | ดีนาร์ยูโกสลาฟ | ||||||||||||||||||
เขตเวลา | UTC+1 | ||||||||||||||||||
รหัสโทรศัพท์ | 38 | ||||||||||||||||||
โดเมนบนสุด | .yu | ||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | เซอร์เบีย โครเอเชีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มาซิโดเนียเหนือ มอนเตเนโกร สโลวีเนีย คอซอวอ [a] | ||||||||||||||||||
|
ที่มา
แก้ยูโกสลาเวีย, ที่ใช้ในภาษาไทยนั้นทับศัพท์จากปริวรรตเป็นอักษรละตินว่า Jugoslavija, โดยการแยกคำดังนี้ jug (ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย "j" ปริวรรตเป็นอักษรภาษาอังกฤษตรงกับ "y") และ slavija. คำแปลในภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย ภาษามาซิโดเนีย, และ ภาษาสโลวีเนีย คำว่า jug หมายถึง "ทิศใต้", ส่วนคำว่า slavija ("สลาเวีย") หมายถึง ("ดินแดนสลาฟ"). คำว่า Jugoslavija "หมายถึง" "สลาฟ-ใต้" หรือ "ดินแดนแห่งชาวสลาฟตอนใต้". เป็นการรวมตัวของ 6 ชนชาติในดินแดนสลาฟใต้ ซึ่งประกอบด้วย: ชาวโครเอเชีย, ชาวมาซิโดเนีย, ชาวมอนเตเนโกร, ชาวบอสเนีย, ชาวเซิร์บ และ ชาวสโลวีน. ยูโกสลาเวีย ได้ประกาศใช้เป็นชื่อประเทศอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1945 จนถึง ค.ศ. 1992.[1]
ค.ศ. 1918 ยูโกสลาเวีย ได้มีการสถาปนาอย่างเป็นทางการภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ว่า "ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และ สโลวีน". ภายหลัง สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 ได้มีการเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย" เมื่อ ค.ศ. 1929 แต่คำว่า "ยูโกสลาเวีย" เป็นชื่อเรียกกันอย่างง่าย ๆ มาตั้งแต่ต้น.[1] ระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 สภาต่อต้านลัทธิฟาสซิสต์เพื่อการปลดปล่อยยูโกสลาเวีย (AVNOJ) ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1943 มีภารกิจในการรวมชาติขึ้นใหม่ภายใต้ สหพันธรัฐประชาธิปไตยยูโกสลาเวีย (DF Yugoslavia, DFY), โดยมีรูปแบบการปกครองของสาธารณรัฐ-หรือ-ราชอาณาจักรเพียงในนาม.
ค.ศ. 1945, ได้ยกสถานะประเทศเป็น สหพันธ์สาธารณรัฐประชาชนยูโกสลาเวีย (FPR Yugoslavia, FPRY), ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ในปี ค.ศ. 1946[2] ค.ศ. 1963 ได้ยกสถานะประเทศอีกครั้งเป็น สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (SFR Yugoslavia, SFRY). ชื่อประเทศอย่างเป็นทางการ ได้รับความนิยมจากประชาชนโดยใช้ภาษราชการทั้ง 3 ภาษาของยูโกสลาเวีย ซึ่งมีระยะเวลาใช้นานที่สุด. ชื่อเรียกในภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย, ส่วนภาษาสโลวีเนีย มีความแตกต่างในการเขียน และ อ่านออกเสียง "Socialist". ดังนี้:
- ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย และ ภาษามาซิโดเนีย
- ปริวรรตเป็นอักษรละติน: Socijalistička Federativna Republika Jugoslavija.
- อักษรซีริลลิก: Социјалистичка Федеративна Република Југославија.
- เสียงอ่านภาษาบอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย: [sot͡sijalǐstit͡ʃkaː fêderatiːʋnaː repǔblika juɡǒslaːʋija]
- เสียงอ่านภาษามาซิโดเนีย: [sɔt͡sijaˈlistit͡ʃka fɛdɛraˈtivna rɛˈpublika juɡɔˈsɫavija]
- ภาษาสโลวีเนีย
- Socialistična federativna republika Jugoslavija, ออกเสียง: [sɔt͡sjaˈlìːstit͡ʃna fɛdɛraˈtíːwna rɛˈpùːblika jugɔˈslàːʋija].
ประวัติศาสตร์
แก้สงครามโลกครั้งที่ 2
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สงครามเย็น
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคปฏิรูป
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การล่มสลาย และ วิกฤติทางการเมือง
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การปกครอง
แก้สาธารณรัฐสังคมนิยมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา | ซาราเยโว | |||
สาธารณรัฐสังคมนิยมโครเอเชีย | ซาเกร็บ | |||
สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย | สโกเปีย | |||
สาธารณรัฐสังคมนิยมมอนเตเนโกร | ตีโตกราด ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น พอดกอรีตซา | |||
สาธารณรัฐสังคมนิยมเซอร์เบีย | เบลเกรด | |||
สาธารณรัฐสังคมนิยมสโลวีเนีย | ลูบลิยานา |
มรดก
แก้อดีตยูโกสลาเวีย เป็นคำซึ่งใช้เรียกรัฐในปัจจุบันซึ่งเกิดขึ้นภายหลังการล่มสลายของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ประเทศเหล่านี้ เรียงจากตะวันตกเฉียงเหนือไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย
- สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
- มอนเตเนโกร
- เซอร์เบีย
- คอซอวอ ประกาศเอกราชฝ่ายเดียวในปี พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบัน อธิปไตยของคอซอวอยังคงเป็นประเด็นถกเถียงกันอยู่
- สโลวีเนีย
- โครเอเชีย
- บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
- มาซิโดเนียเหนือ
ดินแดนของอดีตยูโกสลาเวียตั้งอยู่ในพื้นที่ภูมิศาสตร์บอลข่านตะวันตก ในการจำกัดความคำดังกล่าวของสหภาพยุโรป บอลข่านตะวันตกไม่นับรวมสโลวีเนีย แต่นับรวมแอลเบเนีย สโลวีเนียเป็นประเทศซึ่งแยกตัวออกมาจากอดีตยูโกสลาเวียเพียงประเทศเดียวที่เข้าร่วมสหภาพยุโรป โครเอเชีย มาเซโดเนียและมอนเตเนโกรเป็นผู้สมัครอย่างเป็นทางการ ขณะที่เซอร์เบียได้ยื่นสมัครสมาชิกภาพและถูกจัดว่า "มีศักยภาพที่จะเป็นผู้สมัคร" บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาและสาธารณรัฐคอซอวอยังไม่ได้ยื่นสมัครสมาชิกภาพ หากอย่างไรก็ตามก็ได้รับรองว่า "มีศักยภาพที่จะเป็นผู้สมัคร" สำหรับการขยายตัวที่เป็นไปได้ในอนาคตของสหภาพยุโรป[3]
สาธารณรัฐ (ประเทศ) | 1991 | 2011 | อัตราการเจริญเติบโต p.a. (avg) |
อัตราการเจริญเติบโต (2011 est.) |
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา | 4,377,000 | 4,622,000 | +0.18% | +0.01% |
โครเอเชีย | 4,784,000 | 4,484,000 | -0.22% | -0.08% |
นอร์ทมาซิโดเนีย | 2,034,000 | 2,077,000 | +0.07% | +0.25% |
มอนเตเนโกร | 615,000 | 662,000 | +0.25% | -0.71% |
เซอร์เบีย | 9,778,991 | 7,310,000[4] | -0.12% | -0.47% |
สโลวีเนีย | 1,913,000 | 2,000,000 | +0.15% | -0.16% |
รวม | 23,229,846[5] | 23,000,000 | +0.09% | N/A |
ที่มา: The CIA Factbook estimates for the successor states, ข้อมูลเมื่อ กรกฎาคม 2011[update] |
ดูเพิ่ม
แก้เชิงอรรถ และ อ้างอิง
แก้เชิงอรรถ:
- ↑ 1.0 1.1 Benson, Leslie; Yugoslavia: a Concise History; Palgrave Macmillan, 2001 ISBN 0-333-79241-6
- ↑ Proclamation of Constitution of the Federative People's Republic of Yugoslavia, 31. 1. 1946. ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- ↑ "European Commission - Enlargement - Candidate and Potential Candidate Countries". Europa web portal. สืบค้นเมื่อ 1 August 2009.
- ↑ Excluding Kosovo
- ↑ The last Yugoslavian census in 1991.
อ้างอิง:
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Orders and Decorations of the SFRY เก็บถาวร 2006-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- List of leaders of SFRY เก็บถาวร 2007-05-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Yugoslavia's Self-Management by Daniel Jakopovich
- "Yugoslavia: the outworn structure" (CIA) Report from November 1970
- CWIHP at the Wilson Center for Scholars: Primary Document Collection on Yugoslavia in the Cold War