โยคินี (สันสกฤต: योगिनी) หมายถึง นักพรตหญิงผู้ปฏิบัติโยคะ (ชายเรียกว่าโยคี)[1][2][ลิงก์เสีย][3]

โยคีจากรัฐราชสถาน(ศตวรรษ 17และ 18); พระปารวตีศิลปะทมิฬนาฑู (ศตวรรษ 9); ไนราตมยา ศักติของเหวัชระ (ศตวรรษ 16)

ประวัติ

แก้

นักพรตหญิงปรากฏในศาสนาฮินดูหรือวัชรยานและศาสนาเชน โดยปฏิบัติโยคะเช่นเดียวบุรุษ (โยคี) และเริ่มต้นในอายธรรมอินเดียโบราณ[4]

ประติมากรรมเทวรูปเทวสถานฉัตตรีโยคินี มณเฑียรในรัฐโอฑิศา
ฑากินีในคติศาสนาพุทธแบบทิเบต

โยคินีในลัทธิศักติและตันตระ

แก้

โบสถ์พราหมณ์อุทิศแก่หกสิบสี่โยคินีในนิกายศักติและตันตระ

แก้

มีโบสถ์พราหมณ์หลายแห่งในอินเดียที่อุทิศแก่เทวีหกสิบสี่โยคินีในคติฮินดู ที่มีชื่อเสียงคือเจาสฐโยคินีมนเทียร (ฮินดี: चौसठ योगिनी मंदिर) รัฐโอฑิศา ซึ่งปรากฏสมบูรณ์ที่สุดปรากฏมีรายนามดังนี้

  1. เทวีพหุรูปา
  2. พระนางตารา
  3. พระแม่นารัมทา
  4. พระแม่ยมนา
  5. เทพีศานติ
  6. พระนางวารุณี
  7. กษมันศวรี
  8. พระศจี
  9. พระแม่วาราหี
  10. เทวีรันวิราห์
  11. เทพีวรารามุขี
  12. พระแม่ไวษณวี
  13. กาลราตรี
  14. เทพีวิทยรูปา
  15. จันฑิกา
  16. เทพีเวตาลี
  17. พระแม่ฉินนมัสตา
  18. เทพีวริสภาหนา
  19. เทพีชวลากามินี
  20. เทพีคฑาวราห์
  21. เทพีกราลี
  22. พระสุรัสวดี
  23. เทพีพิรูปา
  24. เทวี กาเวรี
  25. เทพีวลามุขะ
  26. นรสิมหิ
  27. เทพีพิราชา
  28. เทพีวิกันตา
  29. พระลักษมี
  30. พระแม่เกามารี
  31. มหามายา
  32. เทพีรติ
  33. เทพีการการี
  34. เทพีสารปาทยา
  35. เทพียักษิณี
  36. พระแม่วินายกี
  37. เทพีวิทยาบาลินี
  38. เทพีวิระกุมารี
  39. พระแม่มาเหศวรี
  40. อัมพิกาเทพี
  41. เทพีกามิยานี
  42. เทพีคันธบารี
  43. เทพีสตุตี
  44. กาลี
  45. พระอุมาเทพี
  46. นารายณี
  47. เทพีสุมุทรา
  48. พระแม่พรหมาณี
  49. เทพีชวลามุขี
  50. เทพีอาคเนยี
  51. พระอทิติ
  52. เทพีจันทรกัณฑี
  53. เทพีวารุเพลา
  54. พระแม่จามุณฑา
  55. มุรตี
  56. แม่พระคงคา
  57. พระแม่ธูมาวดี
  58. พระนางคานธารี
  59. เทพีสวรามังคละ
  60. เทพีอจิตา
  61. สุริยบุตรี
  62. วายุวีณาเทพี
  63. เทวีอโกรธา
  64. ภัทรกาลี

โยคินีในคติพุทธศาสนาวัชรยานและทิเบต

แก้

ฑากิณีในศาสนาพุทธแบบทิเบตที่สำคัญมีแปดองค์โดยเป็นเทวีบริวารของเหวัชระและมีหน้าที่รักษาทิศทั้งแปดด้วย[ต้องการอ้างอิง]

นาม ทิศทางที่รักษา เทพอาวุธ
นางเคารี (อังกฤษ: Gauri) ผิวสีดำ ประจำ ทิศตะวันออก ทรงกปาละในหัตถ์ขวาและปลาในหัตถ์ซ้าย
นางเฉารี (อังกฤษ: Chauri) ผิวสีทองแดง ประจำ ทิศใต้ ทรงฑมรุในหัตถ์ขวาและในหมูป่าหัตถ์ซ้าย
นางเวตาลี (อังกฤษ: Vetali) ผิวสีแดงส้ม ประจำ ทิศตะวันตก ทรงเต่าในหัตถ์ขวาและกปาละในหัตถ์ซ้าย
นางฆษมารี (อังกฤษ: Ghasmari) ผิวสีเขียว ประจำ ทิศเหนือ ทรงงูในหัตถ์ขวาและกปาละในหัตถ์ซ้าย
นางปุกกาสี (อังกฤษ: Pukkasi) ผิวสีน้ำเงิน ประจำ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงสิงโตในหัตถ์ขวาและขวานในหัตถ์ซ้าย
นางชาพารี (อังกฤษ: Shabari) ผิวสีขาวขุ่น ประจำ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และถือพัดในมือซ้ายทรงนักพรตในหัตถ์ขวาและวาลวีชนีในหัตถ์ซ้าย
นางฉนฑลี (อังกฤษ: Chandali) ผิวสีเทา ประจำ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทรงจักรในหัตถ์ขวาและในคันไถในหัตถ์ซ้าย
นางโทมพี (อังกฤษ: Dombi) ผิวสีเหลืองทอง ประจำ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทรงวัชระในหัตถ์ขวาและในปลาในหัตถ์ซ้าย

อ้างอิง

แก้
  1. Monier Monier-Williams, Sanskrit English Dictionary with Etymology, Oxford University Press, योगिन्, Archive: yogini
  2. Chaudhury, Janmejay. Origin of Tantricism and Sixty-four Yogini Cult in Orissa in Orissa Review, October, 2004 เก็บถาวร พฤษภาคม 25, 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. Bhattacharyya, N. N., History of the Sakta Religion, Munshiram Manoharlal Publishers Pvt. Ltd. (New Delhi, 1974, 2d ed. 1996), p. 128.
  4. Sanskrit original see: ऋग्वेद: सूक्तं १०.१२५;
    for an alternate English translation, see: The Rig Veda/Mandala 10/Hymn 125 Ralph T.H. Griffith (Translator); for

หมวดหม่:โยคี