พลเอก สายหยุด เกิดผล (เกิด 30 มีนาคม พ.ศ. 2466) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด, อดีตสมาชิกวุฒิสภา ปัจจุบันเป็นรองประธานมูลนิธิองค์กรกลางเพื่อประชาธิปไตย และประธานเครือข่ายประชาชนเพื่อการเลือกตั้ง (พีเน็ต)[1] และเป็นบิดาของพล.อ. อักษรา เกิดผล หรือ บิ๊กโบ้ ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก

สายหยุด เกิดผล
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2524 – 30 กันยายน พ.ศ. 2526
(1 ปี 364 วัน)
ก่อนหน้าพลเอก เสริม ณ นคร
ถัดไปพลเอก อาทิตย์ กำลังเอก
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด30 มีนาคม พ.ศ. 2466 (101 ปี)
จังหวัดสุโขทัย ประเทศสยาม
คู่สมรสคุณหญิงอุไรวรรณ เกิดผล
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัดกองบัญชาการทหารสูงสุด
ยศ พลเอก
พลเรือเอก
พลอากาศเอก
บังคับบัญชากองบัญชาการทหารสูงสุด

ประวัติ

แก้

ชีวิตส่วนตัว

แก้

พล.อ. สายหยุด เกิดผล มีเชื้อสายไทพวน เกิดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2466 (นับแบบใหม่) ที่ตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย[2]

พล.อ. สายหยุด เคยสมรสกับคุณหญิงอุไรวรรณ เกิดผล เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 มีประกาศกระทรวงมหาดไทยในราชกิจจานุเบกษาระบุว่า นางเอว่า มาริยา ดีกลี่ อัลบีซี่ (Eva Maria Marquise Degli Albizi[3]) บุคคลสัญชาติเยอรมัน ได้รับการอนุญาตให้ถือสัญชาติไทยตาม พล.อ. สายหยุด เกิดผล สามีบุคคลสัญชาติไทย[4]

การศึกษา

แก้

พล.อ. สายหยุด จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย และโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เมื่อปี พ.ศ. 2483 ต่อมาได้ศึกษาต่อเพิ่มเติมจากโรงเรียนเสนาธิการทหารบก วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร และได้รับทุนไปศึกษาวิชาการทหารเพิ่มเติมที่สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย[5]

การทำงาน

แก้

ราชการทหาร

แก้

พล.อ. สายหยุด รับราชการครั้งแรกที่จังหวัดพิษณุโลก[5] เป็นผู้บังคับหมวด กรมทหารราบ กองพันทหารราบที่ 29 จังหวัดพิษณุโลก เคยทำการรบในสงครามอินโดจีน, สงครามมหาเอเชียบูรพา, สงครามเกาหลี และสงครามต่อต้านคอมมิวนิสต์ในพระราชอาณาจักรลาว[5] และได้รับตำแหน่งเจ้ากรมยุทธการทหารบก

เมื่อปี พ.ศ. 2504 เป็นผู้ร่วมจัดตั้งกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และเคยดำรงตำแหน่งเสนาธิการ และผู้อำนวยการ กอ.รมน.[1] ในปี พ.ศ. 2517 รับพระราชทานยศ"พลเอก" [6]

ตำรงตำแหน่งเสนาธิการทหารบกเมื่อ พ.ศ. 2521 ในขณะที่ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดได้พระราชทานยศ พลเรือเอก และพลอากาศเอก พ.ศ. 2524[7] และเกษียณอายุราชการในเวลาต่อมา

 
พล.อ. สายหยุด เกิดผล กำลังตรวจแถวทหาร ขณะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในปี พ.ศ. 2526

การเมือง และงานพิเศษ

แก้
 
สายหยุด ในปี พ.ศ. 2517

รางวัลและเกียรติยศ

แก้

ได้รับพระราชทานยศ พลเรือเอก พลอากาศเอก และนายกองเอก กองอาสารักษาดินแดน กระทรวงมหาดไทย [11]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

แก้

เครื่องอิสริยาภรณ์สากล

แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 สายหยุด เกิดผล, พลเอก. ชีวิตนี้ มีค่ายิ่ง พลเอก สายหยุด เกิดผล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549. 740 หน้า. ISBN 978-9740-40-3-050
  2. บทบรรณาธิการ มติชนสุดสัปดาห์ เก็บถาวร 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เสถียร จันทิมาธร, 2549
  3. Press Release 2012 - Aus Day
  4. บุคคลสัญชาติเยอรมัน ได้รับการอนุญาตให้ถือสัญชาติไทย
  5. 5.0 5.1 5.2 สายหยุด เกิดผล, พลเอก. พลเอกสายหยุด เกิดผล : คิด เขียน พูด ทำ. กรุงเทพฯ : กลุ่มอาสาประชามติ / ธนบรรณจัดจำหน่าย, 2533. 256 หน้า.
  6. รับพระราชทานยศ พลเอก
  7. รับพระราชทานยศ พลเรือเอก และ พลอากาศเอก พ.ศ. 2524
  8. "พระบรมราชโองการ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-27. สืบค้นเมื่อ 2014-07-08.
  9. ขุนศึกลาวพวน
  10. ประธานกรรมการในคณะกรรมการองค์การสวนสัตว์
  11. ได้รับพระราชทานยศ พลเรือเอก พลอากาศเอก และนายกองเอก กองอาสารักษาดินแดน กระทรวงมหาดไทย
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เล่ม ๙๒ ตอน ๒๖๓ง วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๑๘
  13. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
  14. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เล่ม ๙๓ ตอนที่ ๘๐ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๑๙
  15. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๖๑ ตอนที่ ๔๙ ง หน้า ๑๖๒๐, ๑๕ สิงหาคม ๒๔๘๗
  16. แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับประดับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ
  17. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน
  18. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน
  19. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและจักรพรรดิมาลา
  20. รายพระนามและนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี ประจำปี ๒๕๒๕ จากเว็บไซต์ thaiscouts
  21. เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)
  22. ราชกิจจุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเหรียญปฏิบัติงานสหประชาชาติ, เล่ม 70 ตอนที่ 21 หน้า 1391 ง, 31 มีนาคม 2496
  23. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเหรียญอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่มที่ 72 ตอนที่ 18 หน้า 560, 1 มีนาคม 2498
  24. AGO 1983-49 — HQDA GENERAL ORDERS: MULTIPLE AWARDS BY PARAGRAPHS
  25. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม 84 ตอนที่ 66 ฉบับพิเศษ หน้า 22, 14 กรกฏาคม 2510
  26. 국가기록원 기록물뷰어
  27. SENARAI PENUH PENERIMA DARJAH KEBESARAN, BINTANG DAN PINGAT PERSEKUTUAN TAHUN 1971.
  28. ANSWERS TO QUESTIONS Honorary Awards