จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน375,582
ผู้ใช้สิทธิ40.16%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 4 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
ผู้นำ ทวิช กลิ่นประทุม
พรรค ธรรมสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา และ อำเภอระโนด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ร้อยเอก ละเมียน บุณยะมาน (13) 22,446
ประชาธิปัตย์ คล้าย ละอองมณี (4)* 20,428
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (5)* 19,402
พลังใหม่ สงบ ทิพย์มณี (1) 17,649
ประชาธิปัตย์ วีระ สุพัฒนกุล (6) 17,583
กิจสังคม สิบเอก ผาด จินทะยะ (9) 15,295
พลังเสรี เชื้อ ทิพย์มณี (20)✔ 14,894
กิจสังคม ประจวบ ชนะภัย (7)✔ 12,560
ธรรมสังคม สมคิด ถุงสุวรรณ (25) 10,476
พลังใหม่ สำราญ ขวัญเกื้อ (3) 10,472
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) เพิ่ม สังขถาวร (19) 8,542
พลังใหม่ ถวิล สุวรรณนิล (2) 7,734
ชาติไทย อุดม พวงสอน (11) 6,192
แนวสันติ หะยียามิง หมุดประเสริฐ (21) 4,704
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สมพงษ์ สระกวี (16) 4,443
ชาติไทย พนิต สุขทวี (12) 4,143
พลังสยาม กมล เสนประดิษฐ์ (27) 3,503
แนวร่วมสังคมนิยม สมหวัง หนิโสะ (10) 3,328
ธรรมสังคม จรูญ ศิริเสถียร (24) 3,191
กิจสังคม กมล โมสิกรัตน์ (8) 3,034
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย มนตรี ตรงต่อการ (17) 2,456
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ดนัย อนันติโย (18) 2,270
ธรรมสังคม ประสิทธิ์ จุลละเกศ (23)✔ 2,265
แนวร่วมสังคมนิยม ธีรพล สุญาสิทธิ์ ณ นคร (15) 1,983
แนวสันติ หมัด พิทักษ์คุมพา (22) 1,480
แนวร่วมประชาธิปไตย ภิญโญ โกญจนวรานนท์ (26) 1,398
สังคมชาตินิยม คล้าย อบแพทย์ (14) 967
กรุงสยาม สิบโท สิทธิชัย บุญชู (28) 625
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) จ่าสิบตำรวจ อนันต์ พลพงษ์ (29) 577
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี และ อำเภอสะบ้าย้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล (4)* 18,891
ประชาธิปัตย์ อุดม แดงโกเมน (2) 18,312
ประชาธิปัตย์ สิริชัย หมื่นจร (3) 14,139
กิจสังคม ถาวร เสนะพันธุ์ (5) 12,341
พลังเสรี พิโลม สุวรรณลักษณ์ (1) 8,537
พลังใหม่ ประสาท เถกประสิทธิ์ (6) 6,752
พลังใหม่ สุมิต พิทยาภินันท์ (7) 3,800
แนวร่วมประชาธิปไตย อนันต์ กาญจนสุวรรณ (13) 2,753
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย วัชระ เวทยะธีรางค์ (8) 1,405
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ยะมีน แหละตี (9) 1,348
ชาตินิยม สุธรรมทัศน์ ศิริประภา (11) 993
ชาตินิยม ช่วง อุปพันธ์ (10) 706
พลังสยาม เฉลิม ฤทธิมนตรี (12) 464
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519