ชุดตัวอักษรฮีบรู

(เปลี่ยนทางจาก อักษรฮีบรู)

ชุดตัวอักษรฮีบรู (ฮีบรู: אָלֶף־בֵּית עִבְרִי,[a] Alefbet ivri) นักวิชาการหลายคนเรียกเป็น Ktav Ashuri, อักษรยิว, อักษรเหลี่ยม และ อักษรบล็อก เป็นอักษรไร้สระที่ใช้เขียนภาษาฮีบรูและกลุ่มภาษายิวอื่น ๆ โดยเฉพาะภาษายิดดิช ลาดิโน, ยิวอาหรับ และยิวเปอร์เซีย ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่มีการนำเข้าสระมากขึ้น อักษรนี้ยังใช้เขียนภาษาอาหรับเลอวานต์แบบไม่เป็นทางการในอิสราเอล โดยเฉพาะในบรรดาชาวดรูซ[2][3][4] อักษรนี้แยกจากชุดตัวอักษรแอราเมอิกจักรวรรดิที่รุ่งเรืองในช่วงจักรวรรดิอะคีเมนิด และสืบมาจากชุดตัวอักษรฟินิเชีย

ชุดตัวอักษรฮีบรู
ชนิด
ช่วงยุค
ศตวรรษที่ 2–1 ก่อนคริสตกาล จนถึงปัจจุบัน[1]
ทิศทางขวาไปซ้าย Edit this on Wikidata
ภาษาพูดฮีบรู, ยิดดิช, ลาดิโน, โมซาราบิก, อาหรับเลอวานต์, แอราเมอิก, Knaanic, กลุ่มภาษายิวอื่น ๆ
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
ระบบพี่น้อง
ISO 15924
ISO 15924Hebr (125), ​Hebrew
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Hebrew
ช่วงยูนิโคด
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ (ך/כ), เมม (ם/מ), นุน (ן/נ), ฟี (ף/פ) และซาดดี (ץ/צ) มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ (א), วาว (ו) และโยด/ยุด (י) ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์ และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาติ

ประวัติ

แก้
 
อักษรฮีบรูโบราณ
 
อเล็ปโป โคเด็กซ์ (Aleppo Codex), ตัวบทมาโซเรต ราวศตวรรษที่ 10 ของคัมภีร์ฮีบรู แสดงข้อความในหนังสือโยชูวา 1:1

คำอธิบายทั่วไป

แก้

พยัญชนะ

แก้
Alef Gimel Dalet Zayin Chet Tet Yod Kaf
א ב ג ד ה ו ז ח ט י כ
ך
Lamed Mem Samech Ayin Tsadi Qof Resh Tav
ל מ נ ס ע פ צ ק ר ש ת
ם ן ף ץ

รูปแบบอักษร

แก้
ชื่ออักษร
(ยูนิโคด)
รูปแบบ
ร่วมสมัย สมัยใหม่ตอนต้น ก่อนหน้า
บล็อก serif บล็อก sans-serif รูปเขียน ราชี ฟินิเชีย พาลีโอ-ฮีบรู แอราเมอิก
Alef א א     𐤀    
Bet ב ב     𐤁    
Gimel ג ג     𐤂    
Dalet ד ד     𐤃    
He ה ה     𐤄    
Vav (Unicode)[5] / Waw ו ו     𐤅    
Zayin ז ז     𐤆    
Chet ח ח     𐤇    
Tet ט ט     𐤈    
Yod י י     𐤉    
Kaf כ כ     𐤊    
Final Kaf ך ך    
Lamed ל ל     𐤋    
Mem מ מ     𐤌    
Final Mem ם ם    
Nun נ נ     𐤍    
Final Nun ן ן    
Samekh ס ס     𐤎    
Ayin ע ע     𐤏    
Pe פ פ     𐤐    
Final Pe ף ף    
Tsadi צ צ     𐤑    ,  
Final Tsadi ץ ץ    
Qof ק ק     𐤒    
Resh ר ר     𐤓    
Shin ש ש     𐤔    
Tav ת ת     𐤕    

ค่าตัวเลขของอักษร

แก้

หลังรับวิธีการใช้อักษรเป็นค่าตัวเลขจากกรีก อักษรฮีบรูจึงมีการใช้งานแทนค่าตัวเลขในช่วงปลายศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.[6] และทำหน้าที่ทางคณิตศาสตร์มาประมาณหนึ่งพันปี ปัจจุบันสัญลักษณ์ตัวอักษรและตัวเลขใช้ในบริบทเฉพาะเท่านั้น ้ช่น ระบุวันที่ในปฏิทินฮีบรู, ระบุเกรดชั้นเรียนในอิสราเอล และอื่น ๆ

 
นาฬิกาชั้นล่างของอาคารศาลากลางเมืองชาวยิวที่ปราก แสดงตัวเลขฮีบรูในลำดับทวนเข็มนาฬิกา
อักษร ค่าตัวเลข อักษร ค่าตัวเลข อักษร ค่าตัวเลข
א 1 י 10 ק 100
ב 2 כ 20 ר 200
ג 3 ל 30 ש 300
ד 4 מ 40 ת 400
ה 5 נ 50
ו 6 ס 60
ז 7 ע 70
ח 8 פ 80
ט 9 צ 90

เลข 500, 600, 700, 800 และ 900 โดยทั่วไปเขียนเป็น ת״ק‎, ת״ר‎, ת״ש‎, ת״ת‎ และ תת״ק‎ ตามลำดับ การเพิ่ม geresh ("׳‎") ที่อักษรเป็นตัวคูณกับ 1,000 เช่น ปี 5778 เขียนด้วยอักษรฮีบรูเป็น ה׳תשע״ח‎ โดยที่ ה׳‎ เท่ากับ 5000 และ תשע״ח‎ เท่ากับ 778

ยูนิโคด

แก้

อักษรฮีบรูมีช่วงหลักอยู่ที่ U+0590-U+05FF และมีรูปแบบอักษรอีกจำนวนหนึ่งที่ U+FB1D-U+FB4F

ฮีบรู
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+059x   ֑ ֒ ֓ ֔ ֕ ֖ ֗ ֘ ֙ ֚ ֛ ֜ ֝ ֞ ֟
U+05Ax ֠ ֡ ֢ ֣ ֤ ֥ ֦ ֧ ֨ ֩ ֪ ֫ ֬ ֭ ֮ ֯
U+05Bx ְ ֱ ֲ ֳ ִ ֵ ֶ ַ ָ ֹ ֺ ֻ ּ ֽ ־ ֿ
U+05Cx ׀ ׁ ׂ ׃ ׄ ׅ ׆ ׇ                
U+05Dx א ב ג ד ה ו ז ח ט י ך כ ל ם מ ן
U+05Ex נ ס ע ף פ ץ צ ק ר ש ת          
U+05Fx װ ױ ײ ׳ ״                      


รูปแบบนำเสนอเชิงอักษร
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+FB0x                  
U+FB1x                
U+FB2x
U+FB3x      
U+FB4x    


หมายเหตุ

แก้

a^ "Alef-bet" โดยทั่วไปเขียนในอักษรฮีบรูโดยไม่มี maqaf (מקף, "ยัติภังค์[ฮีบรู]"), אלפבית עברי ตรงกันข้ามกับแบบที่มียัติภังค์ אלף־בית עברי

อ้างอิง

แก้
  1. "Hebrew alphabet." Encyclopedia Britannica. "Square Hebrew became established in the 2nd and 1st centuries bce and developed into the modern Hebrew alphabet over the next 1,500 years."
  2. Abu Elhija, Dua'a (23 January 2014). "A new writing system? Developing orthographies for writing Arabic dialects in electronic media". Writing Systems Research. Informa UK Limited. 6 (2): 190–214. doi:10.1080/17586801.2013.868334. ISSN 1758-6801. S2CID 219568845.
  3. Gaash, Amir. "Colloquial Arabic written in Hebrew characters on Israeli websites by Druzes (and other non-Jews)." Jerusalem studies in Arabic and Islam 43 (2016): 15.
  4. Shachmon, Ori, and Merav Mack. "Speaking Arabic, Writing Hebrew. Linguistic Transitions in Christian Arab Communities in Israel". Wiener Zeitschrift Für Die Kunde Des Morgenlandes, vol. 106, 2016, pp. 223–239. JSTOR, www.jstor.org/stable/26449346. Accessed 15 July 2021.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ unicode_names_of_hebrew_glyphs_at_unicode.org
  6. Sirat, Colette (1976), Ecriture et civilisations, Paris: Editions du CNRS.

บรรณานุกรม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

ทั่วไป

แก้

แป้นพิมพ์

แก้