จังหวัดนครนายกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จังหวัดนครนายกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งใหม่ออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง [1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

จังหวัดนครนายกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

1 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน205,593
ผู้ใช้สิทธิ76.69%
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย พลังประชารัฐ ภูมิใจไทย
เลือกตั้งล่าสุด 0 พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0 ลดลง1
คะแนนเสียง 60,943 35,005 1,151
% 41.04 23.57 0.78

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคเพื่อไทย

ภาพรวม แก้

แบ่งตามพรรค แก้

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
เพื่อไทย 1 60,943 41.04% 1  1 100.00%
พลังประชารัฐ 1 35,005 23.57% 0   0.00%
อนาคตใหม่ 1 21,038 14.17% 0   0.00%
ภูมิใจไทย 1 1,151 0.78% 0  1 0.00%
อื่น ๆ 17 30,360 20.44% 0   0.00%
ผลรวม 21 148,497 100.00% 1   100.00%

แบ่งตามเขต แก้

เขตเลือกตั้ง เพื่อไทย พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 60,943 41.04% 35,005 23.57% 21,038 14.17% 31,511 21.22% 148,497 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 60,943 41.04% 35,005 23.57% 21,038 14.17% 31,511 21.22% 148,497 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต แก้

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครนายก, อำเภอปากพลี, อำเภอบ้านนา และอำเภอองครักษ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครนายก เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วุฒิชัย กิตติธเนศวร (9)* 60,943 41.04
พลังประชารัฐ สมพงษ์ สายทอง (7) 35,005 23.57
อนาคตใหม่ อุดม พัชรพนาวีร์ (16) 21,038 14.17
ประชาธิปัตย์ สกลชัย อิสระเสนารักษ์ (11) 17,066 11.49
เสรีรวมไทย ธนภัทร พุฒซ้อน (1) 3,439 2.32
เศรษฐกิจใหม่ บุญเลิศ แก้วใย (18) 1,912 1.29
พลังท้องถิ่นไท ว่าที่ร้อยตรีนิคม พุ่มจิตร์ (10) 1,707 1.15
ภูมิใจไทย ปวีนา ศุขวัฒน์ (15) 1,151 0.78
ประชาชาติ มูมัด มั่นคง (14) 1,134 0.76
ประชาธิปไตยใหม่ สุริยา ดวงจิตร (8) 1,057 0.71
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย นิรัฐ นิภานันท์ (6) 815 0.55
เพื่อชาติ จ่าสิบเอก ธนวัฒน์ เสือสวย (4) 569 0.38
ชาติพัฒนา รัชฏะ สมรทินกร (5) 519 0.35
ประชานิยม รพีพงษ์ วิริยะกุลมงคล (2) 362 0.24
พลังปวงชนไทย สันทัด ระงับทุกข์ (12) 332 0.22
รวมพลังประชาชาติไทย สมศิริ กัลยาเลิศ (17) 320 0.22
พลังชาติไทย ประสิทธิ์ วงษ์อินทร์ (20) 265 0.18
เพื่อแผ่นดิน ประสงค์ สถาพฤกษ์ (21) 249 0.17
ประชาภิวัฒน์ มาริสา บำรุง (3) 240 0.16
ครูไทยเพื่อประชาชน เกียรติภัช เกิดรี (19) 215 0.14
พลเมืองไทย ธนานุพงษ์ มีมา (13) 159 0.11
ผลรวม 148,497 100.00
บัตรดี 148,497 94.02
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,582 2.27
บัตรเสีย 5,858 3.71
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 157,937 76.69
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 205,953 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

อ้างอิง แก้

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 กันยายน 2561). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้