กองกำลังสนาม

ศัพท์ทางการทหารที่มีความหมายหลากหลายตามที่แต่ละประเทศให้ความหมาย

กองกำลังสนาม (อังกฤษ: field force) ในคำพูดทางทหารของกองทัพบกสหราชอาณาจักรและอินเดีย คือกองกำลังผสมภาคพื้นดินที่ปฏิบัติการภายใต้สถานการณ์การสู้รบที่เกิดขึ้นจริงหรือถูกสมมุติขึ้น[1] โดยทั่วไปจะใช้งานในช่วงของการทัพโดยเฉพาะ ซึ่งถูกใช้งานโดยชาติอื่น ๆ ในความหมายที่แตกต่างกันไป

ทหารพราน ถือเป็นอีกกองกำลังสนามที่เป็นกำลังกึ่งทหารของประเทศไทย

สหราชอาณาจักร แก้

กองกำลังสนามจะถูกสร้างขึ้นจากหน่วยต่าง ๆ ในพื้นที่ปฏิบัติการทางทหารและตั้งชื่อตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ตัวอย่างดังนี้:

  • กองกำลังสนามคูรัม, พ.ศ. 2421
  • กองกำลังสนามหุบเขาเปชาวาร์, พ.ศ. 2421
  • กองกำลังสนามคาบูล, พ.ศ. 2422–2423
  • กองกำลังสนามคาบูล-กันดาฮาร์, พ.ศ. 2423
  • กองกำลังสนามนาตาล, พ.ศ. 2424
  • กองกำลังสนามซอบ, พ.ศ. 2433
  • กองกำลังสนามมาโชนาแลนด์, พ.ศ. 2439
  • กองกำลังสนามมาลากันด์, พ.ศ. 2439
  • กองกำลังสนามติราห์, พ.ศ. 2440
  • กองทัพสนามยูคอน, พ.ศ. 2441
  • กองกำลังชายแดนแอฟริกาตะวันตก, พ.ศ. 2443

ออสเตรเลีย แก้

ในประเทศออสเตรเลีย กองกำลังสนามประกอบไปด้วยหน่วยต่าง ๆ ที่จำเป็นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการปฏิบัติการนั้น ๆ[2]

แคนาดา แก้

กองกำลังรบนอกประเทศแคนาดา ถือเป็นกองกำลังสนามที่สร้างขึ้นมาเพื่อเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สหรัฐ แก้

ในสหรัฐ ระหว่างสงครามเวียดนาม คำนี้ใช้เรียกองค์กรทหารขนาดกองทัพน้อยที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบต่าง ๆ สำหรับหลีกเลี่ยงความสับสนในการกำหนดกองทัพน้อยที่ใช้งานโดยกองทัพบกสาธารณรัฐเวียดนาม และเพื่อให้เกิดการจัดหน่วยที่ยืดหยุ่น โดยกองบัญชาการช่วยเหลือทางทหารเวียดนาม (Military Assistance Command, Vietnam: MACV) และนายพล วิลเลียม เวสต์มอร์แลนด์ ได้พัฒนา "กองกำลังสนาม" ขึ้นมา เช่น กองกำลังสนามที่ 1 (I Field Force) และ กองกำลังสนามที่ 2 (II Field Force) ซึ่งต่างจากกองทัพน้อยที่มีขนาดและโครงสร้างที่กำหนดโดยหลักนิยมของกองทัพบก กองกำลังสนามสามารถขยายขนาดได้ตามความจำเป็นและหน้าที่ต่าง ๆ เช่น การประสานงานกับเวียดนามใต้ กับกิจการพลเรือน และมีความยืดหยุ่นพอที่จะมีหน่วยรองจำนวนมากในการรับมอบหมายภารกิจให้[3]

กองกำลังตำรวจสนาม แก้

ในการปฏิบัติการในการปราบปรามการก่อกบฏ หน่วยตำรวจที่ได้รับการคัดเลือกและผ่านการฝึกฝนมาเป็นพิเศษซึ่ง ติดอาวุธและยุทโธปกรณ์รูปแบบเดียวกับทหารราบเบา ถูกกำหนดให้เป็นกองกำลังตำรวจสนาม มีภารกิจในการลาดตระเวนและโจมตีในรูปแบบของกำลังกึ่งทหาร แต่ยังคงมีอำนาจในการปฏิบัติงานในรูปแบบของตำรวจในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงและอันตรายสูง[4]

รายชื่อกองกำลังตำรวจสนาม กำลังกึ่งทหาร และหน่วยต่อต้านความไม่สงบ แก้

แก้

  แกมเบีย

แก้

  เคนยา
  • ตำรวจเคนยา
    • หน่วยบริการทั่วไป (กบฏเมาเมา)
    • ตำรวจฝ่ายปกครอง
  รัฐเอกราชโครเอเชีย พ.ศ. 2484 - 2488
  • ตำรวจเยอรมัน-โครเอเชีย พ.ศ. 2484 - 2487
  โคลอมเบีย

แก้

  สาธารณรัฐประชาชนจีน

แก้

  ซิมบับเว
  ซีเรีย

แก้

  เดนมาร์ก

แก้

  ตุรกี

แก้

  แทนซาเนีย
  ไทย

แก้

  นครรัฐวาติกัน
  นอร์เวย์
  นามิเบีย
  ไนจีเรีย

แก้

  บราซิล
  • กองทัพบกบราซิล
    • สารวัตรทหาร (บราซิล)
      • กองกำลังรักษาความมั่นคงสาธารณะแห่งชาติ
      • สารวัตรทหารแห่งรัฐเอเคอร์
      • สารวัตรทหารแห่งรัฐเอชปีรีตูซังตู
      • สารวัตรทหารแห่งรัฐโกยาส
      • สารวัตรทหารแห่งรัฐมินาสเชไรส์
      • สารวัตรทหารแห่งรัฐปารานา
      • สารวัตรทหารแห่งรัฐริโอเดอจาเนโร
      • สารวัตรทหารแห่งรัฐเซาเปาโล
  • กองกำลังสาธารณะ (บราซิล) 1880s - 1960s
  บังกลาเทศ
  เบลเยียม
  เบลารุส
  • ตำรวจเสริมเบลารุส พ.ศ. 2484 - 2487 (ความร่วมมือไบโลรัสเซียกับนาซีเยอรมนี)
    • กองพันตำรวจเบลารุส (เอสดี) ที่ 13 พ.ศ. 2486 - 2487 (เยอรมันยึดครองเบลารุสในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง)
    • กองพลน้อยชุทซ์มานน์ชาฟท์ ซีลิง พ.ศ. 2487 เท่านั้น

แก้

  ปากีสถาน
  • กองกำลังพลเรือน - (กองกำลังกึ่งทหารของปากีสถาน)
    • กองทัพน้อยชายแดน
      • กองทัพน้อยชายแดนบาโลจิสถาน (เหนือ)
        • กองกำลังอาสาสมัครคูร์รัม
        • กองกำลังอาสาสมัครซอบ
      • กองทัพน้อยชายแดนบาโลจิสถาน (ใต้)
        • กองกำลังอาสาชาไก
        • กองไรเฟิลดาลบานดิน
        • กองไรเฟิลคาราน
        • กองไรเฟิลตาฟทัน
      • กองทัพน้อยชายแดนไคเบอร์ปัคตุนควา (เหนือ)
        • กองสอนแนมเวนบาจาเออร์
        • กองไรเฟิลบารา
        • กองสอดแนมชิตรัล
        • กองสอดแนมเดอร์
        • กองไรเฟิลไคเบอร์
        • กองสอดแนมมาห์ซุด
        • กองไรเฟิลโมห์มันด์
        • กองสอดแนมโอรักไซ
        • กองสอดแนมเชาวาล
      • กองทัพน้อยชายแดนไคเบอร์ปัคตุนควา (ใต้)
        • กองกำลังอาสาคูร์รัม
        • กองกำลังอาสาซอบ
    • ตำรวจชายแดน
    • กองสอดแนมกิลกิต-บัลติสถาน
  • ปากีสถานเรนเจอร์ส
    • ปัญจาบ เรนเจอร์ส
    • ซินธ์ เรนเจอร์ส
  • กองทัพบกปากีสถาน
  • ปากีสถานเลวีส์
    • บาโลจิสถานเลวีส์
    • ไดร์เลวีส์
    • มาลาคันด์เลวีส์
  • กองทัพเรือปากีสถาน
    • สำนักงานความมั่นคงทางทะเลปากีสถาน
  • อดีตกองกำลังกึ่งทหาร
    • กองกำลังประจำอาซัดแคชเมียร์ พ.ศ. 2490 - 2515
    • กองกำลังความมั่นคงแห่งสหพันธรัฐ (ปากีสถาน) พ.ศ. 2515 - 2520
    • กองสอดแนมกิลกิต 2456 - 2518
    • คาซาดาร์ พ.ศ. 2435 - 2562
    • กองกำลังเมห์ราน พ.ศ. 2485 - 2538
  ปาเลสไตน์ในอาณัติ
  • บริเตนฌ็องดาร์เมอรี 1922 - 1926
  • หมู่พิเศษกลางคืน พ.ศ. 2481 - 2482
  เปรู
  โปรตุเกส
  • องค์การอาสาสมัครและป้องกันภัยพลเรือนระดับจังหวัด

แก้

  ฝรั่งเศสเขตวีชี
  • ตำรวจแห่งชาติฝรั่งเศส
    • กองพลน้อยพิเศษ
  • กลุ่มกำลังสำรองเคลื่อนที่ (Groupe mobile de réserve) พ.ศ. 2484 - 2487
  • กองกำลังอาสาฝรั่งเศส (Milice) พ.ศ. 2486 - 2487
    • แฟรน-การ์ด พ.ศ. 2486 - 2487

แก้

  พม่า

แก้

  ฟิลิปปินส์

แก้

  มอริเชียส
  มอลโดวา
  มาเลเซีย
  เม็กซิโก

แก้

  ยูเครน
  • กองกำลังป้องกันชาติยูเครน
  • กลุ่มทหารกองทัพประชาชนยูเครน พ.ศ. 2484 เท่านั้น (ความร่วมมือระหว่างยูเครนกับนาซีเยอรมนี)
  • ตำรวจเสริมยูเครน พ.ศ. 2484 - 2487, (ความร่วมมือระหว่างยูเครนกับนาซีเยอรมนี)
    • กองพันชุทซ์มานน์ชาฟท์ที่ 118, พ.ศ. 2485 - 2487
    • กองพันชุทซ์มานน์ชาฟท์ที่ 201, พ.ศ. 2484 - 2485
    • กองพันชุทซ์มานน์ชาฟท์ที่ 204, พ.ศ. 2486 - 2487
    • กองพลน้อยชุทซ์มานน์ชาฟท์ ซีลิง, พ.ศ. 2487 เท่านั้น
  เยอรมนีตะวันออก
  • โฟล์คสโปลิเซ พ.ศ. 2488 - 2533
    • โฟล์คสโพลิไซ-เบเรทชาฟท์ พ.ศ. 2498 - 2533
  เยอรมันไรช์
  • ออร์ดนุงส์โพลีทไซ (ตำรวจ) พ.ศ. 2479 - 2488, (กองกำลังตำรวจไรซ์เยอรมัน)
    • กรมตำรวจภาคกลาง พ.ศ. 2484 - 2485 (บันเด็นเบคัมฟุง)
      • กองพันตำรวจที่ 307 พ.ศ. 2484 - 2485
      • กองพันตำรวจที่ 316 พ.ศ. 2484 - 2485
      • กองพันตำรวจที่ 322 พ.ศ. 2484 - 2485
    • กรมตำรวจภาคเหนือ พ.ศ. 2484 - 2485
    • กรมตำรวจภาคใต้ พ.ศ. 2484 - 2485
      • กองพันตำรวจที่ 45 พ.ศ. 2484 - 2485
      • กองพันตำรวจที่ 303 พ.ศ. 2484 - 2485
      • กองพันตำรวจที่ 314 พ.ศ. 2484 - 2485
    • กองพันสั่งการตำรวจ
      • กองพันตำรวจที่ 306 พ.ศ. 2484 - 2485
      • กองพันตำรวจที่ 309 พ.ศ. 2484 - 2488
      • กองพันตำรวจที่ 320 พ.ศ. 2484 - 2485
      • กองพันตำรวจสำรองที่ 33 พ.ศ. 2484 - 2486
      • กองพันตำรวจสำรองที่ 101 พ.ศ. 2483 - 2486
    • กรมตำรวจเอสเอสโบเซน พ.ศ. 2486 - 2488
    • กรมตำรวจเอสเอสบริกเซน พ.ศ. 2487 - 2488
    • ชุทซ์มันน์ชาฟท์ พ.ศ. 2484 - 2488
  • กองบัญชาการรักษาป่าไม้ พ.ศ. 2482 -
  • ชุทซ์ชตัฟเฟิล (SS) 1925 - 1945
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 1 พ.ศ. 2485 - 2488
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 2 พ.ศ. 2485 - 2486
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 3 พ.ศ. 2485 - 2486
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 4 พ.ศ. 2485 - 2486
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 5 พ.ศ. 2485 - 2487
    • กองร้อยตำรวจภูธรที่ 6 พ.ศ. 2485 - 2488
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 7 พ.ศ. 2486 เท่านั้น
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 8 พ.ศ. 2485 - 2488
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 9 พ.ศ. 2485 - 2488
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 10 พ.ศ. 2485 - 2487
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 11 พ.ศ. 2485 - 2487
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 12 พ.ศ. 2485 - 2487
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 13 พ.ศ. 2485 - 2487
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 14 พ.ศ. 2485 - 2487
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 15 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 16 พ.ศ. 2485 - 2487
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 17 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสภูเขาที่ 18 พ.ศ. 2485
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 19 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 20 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 21 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 22 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 23 พ.ศ. 2485 - 2488
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 24 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 25 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 26 พ.ศ. 2485 - 2487
    • กรมตำรวจเอสเอสที่ 27 พ.ศ. 2485 -
    • กรมตำรวจเอสเอสทอดท์ที่ 28 พ.ศ. 2485 -
  • อัลเกอไมเนอ เอ็สเอ็ส พ.ศ. 2477 - 2488
    • โพสต์ชูทซ์ พ.ศ. 2476 - 2488
  • วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส พ.ศ. 2476 - 2488
    • กองพลยานเกราะเอสเอส โพลิซี ที่ 4 พ.ศ. 2482 - 2488
    • กองพลน้อยคามินสกี้ พ.ศ. 2484 - 2487
  • โซลเกรนซ์ชุตซ์ พ.ศ. 2461 - 2488

แก้

  รัสเซีย
  โรดีเชีย
  • ตำรวจแอฟริกาใต้แห่งบริเตน พ.ศ. 2432 - 2523
    • หน่วยตำรวจต่อต้านการก่อการร้าย พ.ศ. 2509 - 2523 (สงครามโรดีเซียนบุช) พ.ศ. 2507 - 2522
    • หน่วยสนับสนุนตำรวจ
  • กระทรวงกิจการภายใน พ.ศ. 2505 - 2522
    • เกรยส์สเกาท์ พ.ศ. 2518 - 2529 (สงครามโรดีเซียนบุช) พ.ศ. 2507 - 2522
    • กองกำลังพิทักษ์ (โรดีเซีย) พ.ศ. 2519 - 2523
  • กองกำลังเสริมความมั่นคง พ.ศ. 2521 - 2522 (สงครามโรดีเซียนบุช พ.ศ. 2507 - 2522)

แก้

  ลัตเวีย
  ลาว
  ลิทัวเนีย

แก้

  วานูวาตู
  • กองกำลังตำรวจวานูวาตู
    • กองกำลังเคลื่อนที่วานูวาตู
  เวียดนาม
  เวียดนามใต้

แก้

  ศรีลังกา

แก้

  หมู่เกาะโซโลมอน

แก้

  อัฟกานิสถาน
  • กองทัพบกอัฟกานิสถาน
    • กองกำลังชายแดนอัฟกานิสถาน
    • กองกำลังเพื่อความสงบเรียบร้อยแห่งชาติอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2549 - 2563
  • การป้องกันการปฏิวัติ พ.ศ. 2521 - 2523
  • ซารานอย พ.ศ. 2521 - 2535
  สาธารณรัฐสังคมอิตาลี
  • แบล็กเชิร์ท พ.ศ. 2466 - 2486
    • บัตตาลิโอนี่ เอ็ม (Battaglioni M) พ.ศ. 2484 - 2486
    • กองพลน้อยสีดำ พ.ศ. 2487 - 2488
    • กองกำลังอาสาสมัครรักษาชายแดน พ.ศ. 2469 - 2486
    • กองกำลังอาสาสมัครป่าไม้ พ.ศ. 2469 - 2491
    • กองกำลังอาสาสมัครปืนใหญ่ทางทะเล พ.ศ. 2482 - 2486
    • กองกำลังอาสาสมัครท่าเรือ พ.ศ. 2467 -
  แอลเบเนีย
  อินเดีย
  • กองกำลังกึ่งทหารอินเดีย
    • หน่วยพิทักษ์ที่อยู่อาศัย (อินเดีย
    • หน่วยพิทักษ์ความมั่นคงแห่งชาติ
      • กลุ่มปฏิบัติการพิเศษ 51
    • กองกำลังพิทักษ์ทางรถไฟ
    • กลุ่มคุ้มครองพิเศษ
  • กองวิจัยและวิเคราะห์
    • กองกำลังพิเศษชายแดน
    • กลุ่มพิเศษ (อินเดีย)
  • กองกำลังตำรวจติดอาวุธกลาง
    • กองกำลังรักษาความมั่นคงชายแดน
    • กองกำลังรักษาความปลอดภัยอุตสาหกรรมกลาง
    • ตำรวจชายแดนอินโด-ทิเบต
      • ตำรวจตระเวนชายแดนอินโด-ทิเบต (กองน้ำ)
    • ซาชาสตรา ซีมา บัล (Sashastra Seema Bal)
    • กองบังคับการตำรวจสำรองกลาง
      • กองพันบาสทาริยา (Bastariya Battalion)
      • กองพันคอมมานโดปฏิบัติการเด็ดเดี่ยว
  • กองทัพบกอินเดีย
    • ชุดไรเฟิลอัสสัม
    • ชุดไรเฟิลราชตริยา
  • กองกำลังตำรวจรัฐติดอาวุธ
    • ตำรวจรัฐอานธรประเทศ
      • เกรย์ฮาวด์ (Greyhounds)
    • ตำรวจชัมมูและแคชเมียร์
      • กลุ่มปฏิบัติการพิเศษ
    • ตำรวจเกรละ
      • ทันเดอร์โบท์เกรละ (Kerala Thunderbolts)
    • ตำรวจติดอาวุธมิโซรัม
    • ตำรวจโอริสสา
      • กลุ่มปฏิบัติการพิเศษ
    • ตำรวจเตลังตานา
      • เกรย์ฮาวด์ (Greyhounds)
    • กองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดอุตตรประเทศ
    • ตำรวจเบงกอลตะวันตก
      • กองกำลังต่อต้านการก่อความไม่สงบ
      • ชดไรเฟิลชายแดนตะวันออก
  อินโดนีเซีย

  อิรัก

  อิสราเอล
  อิหร่าน
  ไอร์แลนด์
  เอสโตเนีย
  • ตำรวจเสริมเอสโตเนีย พ.ศ. 2484 - 2487, (การยึดครองเอสโตเนียของเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง)
    • กองพันตำรวจเอสโตเนียที่ 36 พ.ศ. 2486 - 2487 (การยึดครองเอสโตเนียของเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง)
    • กองพันชุทซ์มันน์ชาฟต์ที่ 33 (Schutzmannschaft Battalion 33)
  แอฟริกาใต้
  แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้
  • ตำรวจแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2463 - 2533
    • เคอเวต (Koevoet) พ.ศ. 2522 - 2532
  แอลจีเรีย

รายชื่อหน่วยสืบราชการลับ กองกำลังสนามตำรวจลับ และหน่วยกำลังกึ่งทหาร แก้

  คีร์กีซสถาน
  ซีเรีย
  ไต้หวัน
  ทาจิกิสถาน
  โปแลนด์
  เยอรมนีตะวันออก
  • ชตาซี พ.ศ. 2493 - 2533
    • กรมรักษาการณ์เฟลิกซ์ ดเซอร์ซินสกี้ 1954 - 1990
  รัสเซีย
  สหภาพโซเวียต
  สหรัฐ
  สหราชอาณาจักร
  ออสเตรเลีย
  อาร์มีเนีย
  อุซเบกิสถาน

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. p.88 Dupuy, Trevor N., Johnson, Curt and Hayes, Grace P. (1986). Dictionary of Military Terms: A Guide to the Language of Warfare and Military Institutions. The H. W. Wilson Company.
  2. "Diggerhistory3.info".
  3. Eckhard, George S. Vietnam Studies: Command and Control 1950-1969. Washington, DC: Department of the Army, 1991 p. 53. Online http://www.history.army.mil/books/Vietnam/Comm-Control/index.htm เก็บถาวร 2017-10-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. p.Davies, Bruce & McKay, Gary The Men Who Persevered:The AATTV 2005 Bruce & Unwin