การปราบปรามการก่อกบฏ
ปฏิบัติการการปราบปรามการก่อกบฏ (อังกฤษ: counter-insurgency หรือ counterinsurgency; ย่อ: COIN) เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติที่ดำเนินโดยรัฐบาลที่ได้รับการรับรองของชาติเพื่อจำกัดหรือปราบปรามการก่อการกำเริบ (insurgency) ที่มีต่อรัฐบาลนั้น โดยหลัก ผู้ก่อการกำเริบมุ่งทำลายหรือลบอำนาจทางการเมืองของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ป้องกันในประชากรที่ผู้ก่อการมุ่งควบคุม และกำลังปราบปรามการก่อกบฏมุ่งปกป้องอำนาจนั้นและลดหรือกำจัดอำนาจที่กำลังเข้าแทนที่ของผู้ก่อการ[1]
ปฏิบัติการปราบปรามการก่อกบฏเป็นสิ่งสามัญระหว่างสงคราม การยึดครองและการกบฏด้วยอาวุธ การปราบปรามการก่อกบฏอาจเป็นการปราบการกบฏ ร่วมกับยุทธวิธีอย่างเช่น แบ่งแยกแล้วปกครองซึ่งออกแบบมาเพื่อแยกความเชื่อมโยงระหว่างการก่อการกำเริบกับประชากรซึ่งผู้ก่อการกำเริบควบคุมอยู่ เพราะเป็นการยากหรือเป็นไปไม่ได้ที่จะแยกระหว่างผู้ก่อการกำเริบ ผู้สนับสนุนการก่อการกำเริบซึ่งไม่ร่วมทำการรบ (non-combatant) กับสมาชิกประชากรที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างใด ทำให้ปฏิบัติการการปราบปรามการก่อกบฏมักต้องอาศัยความแตกต่างระหว่างผู้ก่อการกำเริบกับผู้ที่ไม่ร่วมทำการรบ
ต้นแบบ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
นักทฤษฎีการปราบปรามการก่อกบฏ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุทธวิธี
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
หลักนิยมเฉพาะ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แก้- ↑ Wragg, David W. (1973). A Dictionary of Aviation (first ed.). Osprey. p. 99. ISBN 9780850451634.