ผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย
ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตำแหน่งราชการฝ่ายพลเรือนในประเทศไทย มีสถานะเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทบริหาร ระดับสูง สายงานบริหารงานปกครอง สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย โดยผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้[1] เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ดำรงตำแหน่งในตำแหน่งหนึ่งมาแล้ว เช่น ประเภทบริหาร ระดับต้น ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ ประเภทบริหาร ระดับต้น และ ประเภทอำนวยการ รวมกันไม่น้อยกว่า 3 ปี
ด้านล่างนี้เป็น ผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทยในปัจจุบัน (ไม่รวมกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นเขตการปกครองเทียบเท่า)[2]
จังหวัด | รูปภาพ | ชื่อ | วาระ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
กระบี่ | สมชาย หาญภักดีปฏิมา | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | - | |
กาญจนบุรี | ร้อยโท ทศพล ไชยโกมินทร์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
กาฬสินธุ์ | สนั่น พงษ์อักษร | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
กำแพงเพชร | ชาธิป รุจนเสรี | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ขอนแก่น | ไกรสร กองฉลาด | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
จันทบุรี | มนต์สิทธิ์ ไพศาลธนวัฒน์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ฉะเชิงเทรา | ชลธี ยังตรง | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ชลบุรี | ธวัชชัย ศรีทอง | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ชัยนาท | นที มนตริวัต | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ชัยภูมิ | อนันต์ นาคนิยม | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ชุมพร | วิสาห์ พูลศิริรัตน์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
เชียงราย | พุฒิพงศ์ ศิริมาตย์ | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
เชียงใหม่ | นิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ตรัง | ทรงกลด สว่างวงศ์ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ตราด | ณัฐพงษ์ สงวนจิตร | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ตาก | สมชัย กิจเจริญรุ่งโรจน์ | ตั้งแต่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564 | – | |
นครนายก | สุภภิณห์ แวงชิน | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
นครปฐม | สุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ[3] | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 | – | |
นครพนม | วันชัย จันทร์พร | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
นครราชสีมา | ชัยวัฒน์ ชื่นโกสุม | ตั้งแต่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567 | – | |
นครศรีธรรมราช | ขจรเกียรติ รักพานิชมณี | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
นครสวรรค์ | ทวี เสริมภักดีกุล | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
นนทบุรี | สุธี ทองแย้ม | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
นราธิวาส | ว่าที่ร้อยตรี ตระกูล โทธรรม | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
น่าน | ชัยนรงค์ วงศ์ใหญ่ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
บึงกาฬ | จุมพฏ วรรณฉัตรศิริ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
บุรีรัมย์ | นฤชา โฆษาศิวิไลซ์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ปทุมธานี | ภาสกร บุญญลักษม์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | ||
ประจวบคีรีขันธ์ | สมคิด จันทมฤก | ตั้งแต่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567 | – | |
ปราจีนบุรี | รณรงค์ นครจินดา | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ปัตตานี | พาตีเมาะ สะดียามู | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
พระนครศรีอยุธยา | นิวัฒน์ รุ่งสาคร | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
พะเยา | รัฐพล นราดิศร | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
พังงา | สุพจน์ รอดเรือง ณ หนองคาย | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
พัทลุง | นิศากร วิศิษฏ์สรอรรถ | ตั้งแต่ 28 มกราคม พ.ศ. 2566 | – | |
พิจิตร | อดิเทพ กมลเวชช์ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
พิษณุโลก | ภูสิต สมจิตต์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
เพชรบุรี | ณัฏฐชัย นำพูลสุขสันติ์ | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
เพชรบูรณ์ | กฤษณ์ คงเมือง[4] | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 | – | |
แพร่ | ชุติเดช มีจันทร์ | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ภูเก็ต | โสภณ สุวรรณรัตน์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
มหาสารคาม | วิบูรณ์ แววบัณฑิต | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
มุกดาหาร | วรญาณ บุญณราช | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
แม่ฮ่องสอน | ชูชีพ พงษ์ไชย | ตั้งแต่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567 | – | |
ยโสธร | ชรินทร์ ทองสุข | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ยะลา | อำพล พงศ์สุวรรณ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ร้อยเอ็ด | ทรงพล ใจกริ่ม | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ระนอง | นริศ นิรามัยวงศ์ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ระยอง | ไตรภพ วงศ์ไตรรัตน์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ราชบุรี | เกียรติศักดิ์ ตรงศิริ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | ||
ลพบุรี | อำพล อังคภากรณ์กุล | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ลำปาง | ชัชวาลย์ ฉายะบุตร | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
ลำพูน | สันติธร ยิ้มละมัย | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
เลย | ชัยพจน์ จรูญพงศ์ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
ศรีสะเกษ | อนุพงศ์ สุขสมนิตย์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
สกลนคร | ชูศักดิ์ รู้ยิ่ง | ตั้งแต่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2567 | - | |
สงขลา | สมนึก พรหมเขียว | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
สตูล | ศักระ กปิลกาญจน์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | ||
สมุทรปราการ | ศุภมิตร ชิณศรี | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
สมุทรสงคราม | ศิริศักดิ์ ศิริมังคะลา | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
สมุทรสาคร | ผล ดำธรรม | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
สระแก้ว | ปริญญา โพธิสัตย์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 | – | |
สระบุรี | บัญชา เชาวรินทร์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
สิงห์บุรี | สุเมธ ธีรนิติ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
สุโขทัย | สุชาติ ทีคะสุข | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
สุพรรณบุรี | ณัฐภัทร สุวรรณประทีป[3] | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 | – | |
สุราษฎร์ธานี | เจษฎา จิตรัตน์ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – | |
สุรินทร์ | พิจิตร บุญทัน | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
หนองคาย | สมภพ สมิตะสิริ | ตั้งแต่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567 | – | |
หนองบัวลำภู | สุวิทย์ จันทร์หวร | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
อ่างทอง | พิริยะ ฉันทดิลก | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
อำนาจเจริญ | ว่าที่พันตรี อดิศักดิ์ น้อยสุวรรณ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
อุดรธานี | วันชัย คงเกษม | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 | – | |
อุตรดิตถ์ | ศิรวัฒน์ บุปผาเจริญ | ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | – | |
อุทัยธานี | ธีรพัฒน์ คัชมาตย์ | ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | – | |
อุบลราชธานี | ศุภศิษย์ กอเจริญยศ | ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | – |
ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้รับนโยบายและคำสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับท้องที่และประชาชน และเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคในเขตจังหวัด และรับผิดชอบในราชการจังหวัดและอำเภอ[5]
อ้างอิง
แก้- ↑ ประกาศกระทรวงมหาดไทย
- ↑ รายนามผู้ว่าราชการจังหวัด
- ↑ 3.0 3.1 "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-08-25. สืบค้นเมื่อ 2023-04-19.
- ↑ "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-08-25. สืบค้นเมื่อ 2023-04-19.
- ↑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔