พ.ศ. 2439
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1896)
พุทธศักราช 2439 (นับแบบใหม่) ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน
- ปีวอก อัฐศก จุลศักราช 1258 (วันที่ 13 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2439 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1896 MDCCCXCVI |
Ab urbe condita | 2649 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1345 ԹՎ ՌՅԽԵ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6646 |
ปฏิทินบาไฮ | 52–53 |
ปฏิทินเบงกอล | 1303 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2846 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 59 Vict. 1 – 60 Vict. 1 |
พุทธศักราช | 2440 |
ปฏิทินพม่า | 1258 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7404–7405 |
ปฏิทินจีน | 乙未年 (มะแมธาตุไม้) 4592 หรือ 4532 — ถึง — 丙申年 (วอกธาตุไฟ) 4593 หรือ 4533 |
ปฏิทินคอปติก | 1612–1613 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3062 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1888–1889 |
ปฏิทินฮีบรู | 5656–5657 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1952–1953 |
- ศกสมวัต | 1818–1819 |
- กลียุค | 4997–4998 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11896 |
ปฏิทินอิกโบ | 896–897 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1274–1275 |
ปฏิทินอิสลาม | 1313–1314 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเมจิ 29 (明治29年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 12 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4229 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 16 ก่อน ROC 民前16年 |
ผู้นำ
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่: พระเจ้าอินทวิชยานนท์
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช
- เจ้าผู้ครองนครแพร่: เจ้าพิริยเทพวงษ์
- เจ้าประเทศราช:
เหตุการณ์
แก้- 5 กุมภาพันธ์ - เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร เจ้านครลำพูน องค์ที่ 8 ถึงแก่พิราลัย[1]
- 30 มีนาคม - เจ้าหลวงนรนันทไชยชวลิต เจ้านครลำปาง องค์ที่ 12 ถึงแก่พิราลัยด้วยโรคหืดเรื้อรัง[1]
- 6 เมษายน – พิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ครั้งแรก ณ กรุงเอเธนส์
- 26 พฤษภาคม – ชาร์ลส์ ดาว เริ่มตีพิมพ์ดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์ เป็นดัชนีตลาดหลักทรัพย์
- 4 มิถุนายน – เฮนรี ฟอร์ดได้ทดลองขับยานพาหนะชิ้นแรกที่เขาได้ออกแบบ ซึ่งก็คือจักรยานสี่ล้อ (Quadricycle)
- 10 มิถุนายน -
- การไฟฟ้านครหลวงเปิดบริการแก่ประชาชนวันนี้
- แบ่งแยกเมืองเชียงแขงเป็นสองส่วนตามแนวแม่น้ำโขง ฝั่งซ้ายเป็นของฝรั่งเศส ฝั่งขวาเป็นของอังกฤษ
- 27 สิงหาคม – แซนซิบาร์ประกาศยอมแพ้หลังจากทำสงครามกับสหราชอาณาจักรเพียงไม่ถึง 1 ชั่วโมง
- 18 กันยายน - ตั้งกรมป่าไม้ในสยาม
- 26 มีนาคม - รัชกาลที่ 5 เปิดทางรถไฟสายกรุงเทพฯ-นครราชสีมาซึ่งเปิดเดินรถครั้งแรกถึงกรุงเก่า
- 28 มีนาคม - เปิดเดินรถไฟสายกรุงเทพฯ-นครราชสีมาอย่างเป็นทางการ
- 29 มีนาคม - รัชกาลที่ 5 ครองราชย์ได้ 10,000 วันในวันนี้ มีการฉลองตราแผ่นดิน
ไม่ทราบวัน
แก้วันเกิด
แก้- 5 มกราคม - พระครูเนกขัมมาภินันท์ (บุญทา พุทธวังโส) (มรณภาพ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2523)
- 19 กรกฎาคม - เอ.เจ. โครนิน นักประพันธ์ชาวสกอต (เสียชีวิต พ.ศ. 2524)
- 17 กันยายน - พระมงคลวิสุทธิ์ (สุภา กนฺตสีโล) (มรณภาพ 2 กันยายน พ.ศ. 2556)
- 6 ธันวาคม - หม่อมเจ้าลักษณ์เลิศ ชยางกูร (สิ้นชีพิตักษัย 1 เมษายน พ.ศ. 2518)
- ไม่ระบุวันเกิด - ครูท้วม ประสิทธิกุล ครูดนตรีไทย(ขับร้อง) (เสียชีวิต พ.ศ. 2534)
วันถึงแก่กรรม
แก้- 5 กุมภาพันธ์ - เจ้าเหมพินธุไพจิตร เจ้านครลำพูน องค์ที่ 8[1]
- 30 มีนาคม - เจ้านรนันทไชยชวลิต เจ้านครลำปาง องค์ที่ 12[1]
- 1 กรกฎาคม - แฮร์เรียต บีเชอร์ สโตว์ นักประพันธ์ชาวอเมริกัน (ผลงานเด่น กระท่อมน้อยของลุงทอม) (เกิด พ.ศ. 2354)
- 10 ธันวาคม - อัลเฟรด โนเบล นักเคมี ผู้ก่อตั้งรางวัลโนเบล (เกิด พ.ศ. 2376)
- 17 สิงหาคม - สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยิกาเธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร (ทูลกระหม่อมแก้ว) (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2361)