กลุ่ม 7
กลุ่ม 7 (อังกฤษ: Group of Seven, G7) เป็นเวทีการเมืองระหว่างรัฐบาลที่ประกอบด้วยแคนาดา, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อิตาลี, ญี่ปุ่น, สหราชอาณาจักร และสหรัฐ กับสหภาพยุโรป มีการจัดระเบียบอย่างเป็นทางการตามค่านิยมพหุนิยมกับรัฐบาแบบมีผู้แทนร่วมกัน[1] ณ ค.ศ. 2020 รัฐสมาชิกกลุ่ม 7 มีความมั่งคั่งสุทธิทั่วโลกมากกว่าครึ่ง (ที่มากกว่า 200 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ)[2] ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทั่วโลกที่ร้อยละ 32 ถึง 46[n 1] และร้อยละ 10 ของประชากรโลก (770 ล้านคน)[3] สมาชิกเป็นมหาอำนาจในกิจการโลกและรักษาความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ การทูต และการทหารที่ใกล้ชิดซึ่งกันและกัน
กลุ่มเจ็ด | |||||||||||||||||
ผู้นำกลุ่ม 7 ระหว่างการประชุมฉุกเฉินเรื่องการผนวกไครเมียโดยประเทศรัสเซียปี 2014 ที่เนเธอร์แลนด์ | |||||||||||||||||
รัฐกลุ่ม 7 (น้ำเงิน) กับสหภาพยุโรป (ทีล)
ชาติสมาชิกกับผู้นำหลัก:
| |||||||||||||||||
ชื่อย่อ | G7 | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ก่อนหน้า | กลุ่ม 8 (G8) (ย้อนกลับ) | ||||||||||||||||
ก่อตั้ง | 25 March 1973 การประชุมกลุ่ม 6 ครั้งที่ 1: 15 November 1975 | ("กลุ่มหอสมุด")||||||||||||||||
ผู้ก่อตั้ง | "กลุ่มหอสมุด":
การประชุมกลุ่ม 6 ครั้งที่ 1: | ||||||||||||||||
ก่อตั้งที่ |
| ||||||||||||||||
ประเภท | สมาคมอย่างไม่เป็นทางการ | ||||||||||||||||
วัตถุประสงค์ | การเมือง, เศรษฐกิจ | ||||||||||||||||
สาขาวิชา | การเมืองระหว่างประเทศ | ||||||||||||||||
สมาชิก (2021) | 7 (กับสหภาพยุโรป) | ||||||||||||||||
การให้ทุน | ชาติสมาชิก | ||||||||||||||||
เว็บไซต์ | g7germany.de | ||||||||||||||||
ชื่อในอดีต |
|
ผู้นำประเทศในกลุ่ม 7
แก้การประชุมประจำปี
แก้เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ |
หมายเหตุ : ในปี 2557 เดิมเจ้าภาพในการประชุมคือ รัสเซีย โดย ประธานาธิบดี วลาดิมีร์ ปูติน แต่เหตุการณ์คาบสมุทรไครเมีย ทำให้เปลี่ยนสถานที่การประชุมที่กรุงบรัซเซลล์ ประเทศเบลเยี่ยม โดยมีสหภาพยุโรป เป็นเจ้าภาพแทน
ผู้นำประเทศและตัวแทนสหภาพยุโรปในกลุ่ม 7 (ณ ค.ศ. 2023)
แก้ดูเพิ่ม
แก้หมายเหตุ
แก้- ↑ ขึ้นอยู่กับว่าใช้ค่าโดยเฉลี่ยหรือภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อแบบใด
อ้างอิง
แก้- ↑ "What is the G7?". G7 UK Presidency 2021 (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2021. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.
- ↑ "Global Wealth Databook 2021" (PDF). Credit Suisse. credit-suisse.com. 2021. Table 4-1. p. 130. สืบค้นเมื่อ 20 December 2021.
- ↑ "The G7: Frequently Asked Questions". France Diplomacy – Ministry for Europe and Foreign Affairs. 26 August 2019. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.