ฟองเต้าหู้ (อังกฤษ: Tofu skin, Yuba, beancurd skin, beancurd sheet หรือ beancurd robes) เป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ทำจากถั่วเหลือง ระหว่างการต้มน้ำเต้าหู้ในกระทะก้นตื้น ผิวที่ประกอบด้วยสารประกอบเชิงซ้อนของโปรตีน-ลิพิดจากถั่วเหลืองจะก่อตัวขึ้นบนพื้นผิวของเหลว[2][3] ผิวจะถูกรวบรวมและทำให้แห้งเป็นแผ่นสีเหลืองที่เรียกว่าฟองเต้าหู้[4][5] เนื่องจากฟองเต้าหู้ไม่ได้ผลิตโดยใช้สารก่อการจับตัวเป็นก้อน โดยหลักการแล้วฟองเต้าหู้จึงไม่ใช่เต้าหู้ แต่ก็มีเนื้อสัมผัสและรสชาติที่คล้ายคลึงกับผลิตภัณฑ์เต้าหู้บางชนิด

ฟองเต้าหู้
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน2,217 กิโลจูล (530 กิโลแคลอรี)
7.2 g
ใยอาหาร3.0 g
32.1 g
อิ่มตัว4.98 g
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว7.50 g
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่16.26 g
50.4 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(0%)
1 μg
(0%)
7 μg
ไทอามีน (บี1)
(30%)
0.35 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(10%)
0.12 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(9%)
1.4 มก.
(11%)
0.55 มก.
วิตามินบี6
(25%)
0.32 มก.
โฟเลต (บี9)
(10%)
38 μg
วิตามินอี
(16%)
2.4 มก.
วิตามินเค
(52%)
55 μg
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(21%)
210 มก.
เหล็ก
(64%)
8.3 มก.
แมกนีเซียม
(62%)
220 มก.
แมงกานีส
(163%)
3.43 มก.
ฟอสฟอรัส
(86%)
600 มก.
โพแทสเซียม
(18%)
840 มก.
โซเดียม
(1%)
12 มก.
สังกะสี
(52%)
4.9 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ6.9 g
เส้นใยอาหารที่ละลายน้ำ0.6 g
เส้นใยอาหารที่ไม่ละลายน้ำ2.4 g
ไบโอติน(บี737.3 µg

Vitamin E showed only α-tocopherol[1]
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
ฟองเต้าหู้
ชื่อภาษาจีน
ภาษาจีน腐皮
ความหมายตามตัวอักษรผิวเต้าหู้
ชื่อภาษาจีน 2
ภาษาจีน豆腐皮
ความหมายตามตัวอักษรผิวเต้าหู้
ชื่อภาษาเกาหลี
ฮันกึล
두부껍질
ความหมายตามตัวอักษรผิวเต้าหู้
ชื่อภาษาญี่ปุ่น
คันจิ湯葉
คานะゆば

การใช้ฟองเต้าหู้ได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในจีน เกาหลี และญี่ปุ่นในศตวรรษที่ 16 มีการใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งแบบสด หมัก หรือตากแห้งในอาหารจีน เกาหลี และญี่ปุ่น

คลังภาพ แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Ministry of Health, Labour and Welfare Japanese Dietary Intake Standards (2015 Edition)
  2. Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2004). "History of Yuba". History of Soybeans and Soyfoods: 1100 B.C. to the 1980s. Soyinfo Center. สืบค้นเมื่อ 2021-02-18.
  3. BEAN SKIN (腐竹) ; A PRODUCT OF BLOOD & SWEAT FROM THE MAKERS. Journal of the Hong Kong Branch of the Royal Asiatic Society. Vol. 17. 1977.
  4. Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2012). History of Yuba – The Film That Forms atop Heated Soymilk (1587–2012). Lafayette, California: Soyinfo Center.
  5. Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (1983). The Book of Tofu. Berkeley, California: Ten Speed Press.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้