พระยมี (สันสกฤต: यमी) เป็นเทวีในศาสนาฮินดู ผู้ดูแลและรักษาแม่น้ำยมุนาและเป็นเทพแห่งน้ำ[1]หรืออีกพระนามคือ กลินทิ (อังกฤษ: Kalindi)[2]ในปรัมปราวิทยาฮินดู เชื่อว่าพระองค์เกี่ยวข้องกับพระกฤษณะ และเป็นฝาแฝดคู่กับพระยม ะได้รับความนิยมในการบูชาในฐานะเทพแห่งน้ำคู่กับพระแม่คงคาและพระสุรัสวดี ในประเทศไทยพระนามของพระนางเป็นหนึ่งสระศักดิ์สิทธิ์ทั้งสี่สำหรับใช้แทนแม่น้ำยมุนาและในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย.

พระยมี
พระแม่ยมุนา
यामी
The River Goddess Yamuna and Attendants LACMA M.79.9.10.2a-b (6 of 12).jpg
ตำแหน่งเทพีผู้รักษาแม่น้ำยมุนา
จำพวกเทพีผู้รักษาแม่น้ำยมุนา
สัปตสินธุ
เทวีในคณะ 64 โยคินี
อาวุธหม้อปูรณฆฏะ,ดอกบัว, พวงมาลัย, กมัณฑลุ, อักษะมาลา
สัตว์พาหนะเต่า
บิดาพระอาทิตย์
มารดานางศรัณยา
คู่ครองพระกฤษณะ
ศาสนา/ลัทธิศาสนาฮินดู
ศาสนาพุทธแบบทิเบต
ศาสนาพุทธแบบเนปาล
พระแม่ยมุนา
Statue of Yamuna nadhi-Amirthakadeswarar Temple, Selaiyur.jpg
YamunaTerracottaAhichchhatra.JPG
พระแม่ยมนาศิลปะคุปตะ พิพิธภัณฑ์แห่งชาตินิวเดลี
La déesse Ganga dans le palais royal (Patan) (8610057880).jpg
พระแม่ยุมนาในตาเลชุภวานีมนเทียร พระราชวังปาตัน ประเทศเนปาล หลังการบูรณะในปัจจุบัน.
Patan Kathmandu (5085686411).jpg
พระแม่ยุมนาในตาเลชุภวานีมนเทียร พระราชวังปาตัน ประเทศเนปาล ก่อนการบูรณะในปัจจุบัน
Yamuna, north India, 10th century AD, sandstone - Linden-Museum - Stuttgart, Germany - DSC03844.jpg
พิพิธภัณฑ์ลินเดน ประเทศเยอรมนี.
The River Goddess Yamuna and Attendants LACMA M.79.9.10.2a-b (4 of 12).jpg
พระแม่ยมนาศิลปะคุปตะ
ลักษณะทางประติมานวิทยาของพระแม่ยมุนา.

ประติมานวิทยาแก้ไข

ในประติมานวิทยา พระนางยมุนามักจะปรากฏพระองค์คู่กับพระแม่คงคาในฐานะผู้รักษาและพิทักษ์เทวสถานเพื่อชำระล้างและขจัดอาถรรพณ์ของผู้ที่จะเข้ามาสักการะบูชาให้บริสุทธิ์[1] ในจิตรกรรมของประติมากรรมพระนางจะมีผิวสีคล้ำและทรงพาหนะเป็นเต่าในศิลปะโบราณมักจะทรงประทับยืนตริภังค์และทรงสัญญาลักษณ์หม้อปูรณฆฏะในหัตถ์ข้างหนึ่ง[1]ส่วนในศิลปะประเพณีนิยมอินเดียในปัจจุบันมักจะทรงเทพอาวุธคือบัวและปุษปะมาลา (พวงมาลัย).

เทวสถานแก้ไข

ปรัมปราวิทยาแก้ไข

อ้างอิงแก้ไข

  1. 1.0 1.1 1.2 Dalal 2010, p. 398.
  2. Mani, Vettam (1975). Puranic Encyclopaedia: a Comprehensive Dictionary with Special Reference to the Epic and Puranic Literature. Motilal Banarsidass Publishers. p. 62. ISBN 978-0-8426-0822-0.