พ.ศ. 2430
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1887)
พุทธศักราช 2430 (นับแบบใหม่) ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน
- ปีกุน นพศก จุลศักราช 1249 (วันที่ 14 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2430 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1887 MDCCCLXXXVII |
Ab urbe condita | 2640 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1336 ԹՎ ՌՅԼԶ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6637 |
ปฏิทินบาไฮ | 43–44 |
ปฏิทินเบงกอล | 1294 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2837 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 50 Vict. 1 – 51 Vict. 1 |
พุทธศักราช | 2431 |
ปฏิทินพม่า | 1249 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7395–7396 |
ปฏิทินจีน | 丙戌年 (จอธาตุไฟ) 4583 หรือ 4523 — ถึง — 丁亥年 (กุนธาตุไฟ) 4584 หรือ 4524 |
ปฏิทินคอปติก | 1603–1604 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3053 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1879–1880 |
ปฏิทินฮีบรู | 5647–5648 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1943–1944 |
- ศกสมวัต | 1809–1810 |
- กลียุค | 4988–4989 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11887 |
ปฏิทินอิกโบ | 887–888 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1265–1266 |
ปฏิทินอิสลาม | 1304–1305 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเมจิ 20 (明治20年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 12 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4220 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 25 ก่อน ROC 民前25年 |
ผู้นำ
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่: พระเจ้าอินทวิชยานนท์
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์
- เจ้าผู้ครองนครลำปาง: เจ้าพรหมาภิพงษธาดา
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: เจ้าอนันตวรฤทธิเดช
- เจ้าประเทศราช:
เหตุการณ์
แก้- 8 เมษายน - สยามตราพระราชบัญญัติจัดกรมทหารรวมทหารบกและทหารเรือเข้าด้วยกัน
- 7 มิถุนายน - สงครามปราบฮ่อ เกิดขึ้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้กองทัพทหารไทย(สยาม) ได้รับชัยชนปราบฮ่อได้ราบคราบเดินทางกลับมาถึงกรุงเทพ
- 23 มิถุนายน - แคนาดากำหนดให้อุทยานแห่งชาติแบนฟ์ เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรก
- 23 กรกฎาคม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ นายพลตรี เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) ยกกำลังจากกรุงเทพไปปราบ พวก ฮ่อ ที่เข้ามาปล้นสะดมในเขตหลวงพระบาง ได้รับผลสำเร็จอย่างรวดเร็ว เพราะ ฝรั่งเศส ให้ความร่วมมือ[1]
- 26 กรกฎาคม - แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ เผยแพร่ ภาษาเอสเปรันโต
- 5 สิงหาคม - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาโรงเรียนนายร้อยขึ้นที่บริเวณหลังพระราชวังสราญรมย์ (ปัจจุบันคือ กรมแผนที่ทหาร) และเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เมื่อ พ.ศ. 2490
- 26 กันยายน - ประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต
- 17 มกราคม - กองทัพฝรั่งเศสยึดเมืองไลในสิบสองจุไท อ้างว่ามาช่วยปราบฮ่อ
ไม่ทราบวัน
แก้- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงพยาบาลหลวงขึ้นที่ตำบลวังหลังเป็นแห่งแรก เรียกกันขณะนั้นว่า โรงพยาบาลวังหลัง ปีต่อมาพระราชทานชื่อ โรงพยาบาลศิริราช
- สมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการเสด็จเป็นผู้แทนพระองค์ไปช่วยงานฉลองรัชกาลสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ครบ 50 ปี ณ สหราชอาณาจักร
วันเกิด
แก้- 16 มกราคม - หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ (มรณภาพ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2528)
- 4 มีนาคม - เจ้าชายกุสตาฟแห่งเดนมาร์ก (สิ้นพระชนม์ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2487)
- 29 มีนาคม - พระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 (เสียชีวิต 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490)
- 14 เมษายน - หม่อมเจ้าพันธุประวัติ เกษมสันต์ (สิ้นชีพิตักษัย 8 มิถุนายน พ.ศ. 2463)
- 22 มิถุนายน - จูเลียน ฮักซ์เลย์ นักชีววิทยาชาวอังกฤษ (เสียชีวิต พ.ศ. 2518)
- 12 สิงหาคม - เออร์วิน ชเรอดิงเงอร์ นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย (เสียชีวิต พ.ศ. 2504)
- 17 สิงหาคม - จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย (สวรรคต 1 เมษายน พ.ศ. 2465)
- 19 กันยายน - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล (สิ้นพระชนม์ 19 เมษายน พ.ศ. 2433)
- 24 ตุลาคม - วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน (สวรรคต 15 เมษายน พ.ศ. 2512)
- 22 ธันวาคม - ศรีนิวาสะ รามานุชัน นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย (เสียชีวิต พ.ศ. 2463)
วันถึงแก่กรรม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศตั้งแม่ทัพ, เล่ม 4, หน้า 123, 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2430