วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Women's World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในร่มระดับนานาชาติของประเภททีมหญิง

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2025
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1952
ฤดูกาลแรก1952
ซีอีโอบราซิล อารี กราซา
จำนวนทีม24 (Finals)
ทวีประหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย (สมัยที่ 2)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติรัสเซีย รัสเซีย (7 สมัย)
เว็บไซต์FIVB Volleyball World Championships

สรุปการแข่งขัน

แก้
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1952
รายละเอียด
 
สหภาพโซเวียต
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
8
1956
รายละเอียด
 
ฝรั่งเศส
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โรมาเนีย
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
17
1960
รายละเอียด
 
บราซิล
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
โปแลนด์
10
1962
รายละเอียด
 
สหภาพโซเวียต
 
ญี่ปุ่น
พบกันหมด  
สหภาพโซเวียต
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
14
1967
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
ญี่ปุ่น
3-1  
สหรัฐ
 
เกาหลีใต้
3-0  
เปรู
4
1970
รายละเอียด
 
บัลแกเรีย
 
สหภาพโซเวียต
3-1  
ญี่ปุ่น
 
เกาหลีเหนือ
พบกันหมด  
ฮังการี
16
1974
รายละเอียด
 
เม็กซิโก
 
ญี่ปุ่น
3-0  
สหภาพโซเวียต
 
เกาหลีใต้
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
23
1978
รายละเอียด
 
สหภาพโซเวียต
 
คิวบา
3–0  
ญี่ปุ่น
 
สหภาพโซเวียต
3–1  
เกาหลีใต้
23
1982
รายละเอียด
 
เปรู
 
จีน
3–0  
เปรู
 
สหรัฐ
3–1  
ญี่ปุ่น
23
1986
รายละเอียด
 
เชโกสโลวาเกีย
 
จีน
3–1  
คิวบา
 
เปรู
3–1  
เยอรมนีตะวันออก
16
1990
รายละเอียด
 
จีน
 
สหภาพโซเวียต
3–1  
จีน
 
สหรัฐ
3–1  
คิวบา
16
1994
รายละเอียด
 
บราซิล
 
คิวบา
3–0  
บราซิล
 
รัสเซีย
3–1  
เกาหลีใต้
16
1998
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
คิวบา
3–0  
จีน
 
รัสเซีย
3–1  
บราซิล
16
2002
รายละเอียด
 
เยอรมนี
 
อิตาลี
3–2  
สหรัฐ
 
รัสเซีย
3–1  
จีน
24
2006
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
รัสเซีย
3–2  
บราซิล
 
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
3–0  
อิตาลี
24
2010
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
รัสเซีย
3–2  
บราซิล
 
ญี่ปุ่น
3–2  
สหรัฐ
24
2014
รายละเอียด
 
อิตาลี
 
สหรัฐ
3–1  
จีน
 
บราซิล
3–2  
อิตาลี
24
2018
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
เซอร์เบีย
3–2  
อิตาลี
 
จีน
3–0  
เนเธอร์แลนด์
24
2022
รายละเอียด
   
เนเธอร์แลนด์ / โปแลนด์
 
เซอร์เบีย
3–0  
บราซิล
 
อิตาลี
3–0  
สหรัฐ
24
2025
รายละเอียด
 
ไทย
32

เจ้าภาพ

แก้

รายชื่อเจ้าภาพแบ่งตามจำนวนการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันชิงแชมป์โลก

เจ้าภาพ ทีมที่เป็นเจ้าภาพ (ค.ศ.)
5   ญี่ปุ่น (1967, 1998, 2006, 2010, 2018)
3   สหภาพโซเวียต (1952, 1962, 1978)
2   บราซิล (1960, 1994)
1   ฝรั่งเศส (1956)
  บัลแกเรีย (1970)
  เม็กซิโก (1974)
  เปรู (1982)
  เชโกสโลวาเกีย (1986)
  จีน (1990)
  เยอรมนี (2002)
  อิตาลี (2014)
  เนเธอร์แลนด์ (2022)*
  โปแลนด์ (2022)*
  ไทย (2025)
* = เจ้าภาพร่วม

ตารางเหรียญการแข่งขัน

แก้
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   รัสเซีย[A] 7 2 4 13
2   ญี่ปุ่น 3 3 1 7
3   คิวบา 3 1 0 4
4   จีน 2 3 0 5
5   เซอร์เบีย[B] 2 0 1 2
6   สหรัฐ 1 2 2 5
7   อิตาลี 1 0 1 1
8   บราซิล 0 4 1 4
9   โปแลนด์ 0 1 2 3
10   เปรู 0 1 1 2
11   โรมาเนีย 0 1 0 1
12   เช็กเกีย[C] 0 0 2 2
  เกาหลีใต้ 0 0 2 2
13   เกาหลีเหนือ 0 0 1 1
รวม 17 17 17 51

ผู้เล่นทรงคุณค่า

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

หมายเหตุ

แก้
  1. เอฟไอวีบี พิจารณาให้รัสเซีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 1993) เป็นผู้สืบสิทธิของสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991) และเครือรัฐเอกราช (ค.ศ. 1992)
  2. เอฟไอวีบี พิจารณาให้ประเทศเซอร์เบีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 2007) เป็นผู้สืบสิทธิของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991), สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1992 – ค.ศ. 2002) และเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ค.ศ. 2003 – ค.ศ. 2006)
  3. เอฟไอวีบี พิจารณาให้สาธารณรัฐเช็ก (ตั้งแต่ ค.ศ. 1994) เป็นผู้สืบสิทธิของเชโกสโลวาเกีย (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1993)

อ้างอิง

แก้
  1. Volleywood. "List of MVP by edition - Women's World Championship". Volleywood.net.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้