วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย
(เปลี่ยนทางจาก วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสหภาพโซเวียต)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย (รัสเซีย: Женская сборная России по волейболу) เป็นทีมชาติของประเทศรัสเซีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลรัสเซีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ[2]
สมาคม | สหพันธ์วอลเลย์บอลรัสเซีย | ||
---|---|---|---|
สมาพันธ์ | สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | เซร์คีโอ บูซาโต | ||
อันดับเอฟไอวีบี | – (ณ 3 มิถุนายน 2024) | ||
เครื่องแบบ | |||
| |||
โอลิมปิกฤดูร้อน | |||
เข้าแข่งขัน | 10 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1964) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | (1968, 1972, 1980 และ 1988) | ||
ชิงแชมป์โลก | |||
เข้าร่วมแข่งขัน | 16 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1952) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | (1952, 1956, 1960, 1970, 1990, 2006 และ 2010) | ||
www.volley.ru (รัสเซีย) |
ทีมนี้ลงแข่งขันในช่วง ค.ศ. 1949 ถึง 1991 ในฐานะสหภาพโซเวียต และในฐานะเครือรัฐเอกราช ใน ค.ศ. 1992
และใน ค.ศ. 2013 ทีมชาติรัสเซียได้เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ 2013 ในฐานะแชมป์จากรายการวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป[3] โดยเป็นฝ่ายแพ้ทีมชาติไทยที่ 3-1 เซต[4]
รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน
แก้- หัวหน้าผู้ฝึกสอน: เซร์คีโอ บูซาโต
- อ้างอิงรายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบันจากวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2021
เบอร์ | ชื่อ | วันเกิด | ส่วนสูง | ตบ | บล็อก | สโมสร 2020-2021 | ตำแหน่ง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เอลิซาเวตา โกโตวา | 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 | 186 | 303 | 290 | ยูรารอสกา-เอ็นทีเอ็มเค | ตัวบล็อกกลาง |
4 | ดาเรีย พิลิเพนโก | 9 มิถุนายน ค.ศ. 1991 | 176 | 283 | 270 | ยูรารอสกา-เอ็นทีเอ็มเค | ตัวรับอิสระ |
5 | โปลินา แมทวีวา | 8 สิงหาคม ค.ศ. 2002 | 194 | 300 | 290 | ซาเรเชีย-โอดินโซโว | ตัวเซ็ต |
10 | อารีนา เฟโดรอฟเซวา | 19 มกราคม ค.ศ. 2004 | 191 | 315 | 300 | ไดนาโม-คาซาน | ตัวตบหัวเสา |
11 | ยูเลีย บรอฟกินา | 31 พฤษภาคม ค.ศ. 2001 | 190 | 310 | 300 | เอนิเซย์-ครัสโนยาสค์ | ตัวบล็อกกลาง |
12 | อันนา ลาซาเรวา | 31 มกราคม ค.ศ. 1997 | 190 | 310 | 305 | IBK | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา |
13 | เยฟเกนียา สตาร์ตเซวา | 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 | 185 | 294 | 290 | ไดนาโม-คาซาน | ตัวเซ็ต |
17 | ตาเตียนา คาดอชกินา | 21 มีนาคม ค.ศ. 2003 | 192 | 305 | 300 | ไดนาโม-คาซาน | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา |
22 | ทามารา เซตเซวา | 16 ธันวาคม ค.ศ. 1994 | 170 | 283 | 270 | ไดนาโม-คราสโนดาร์ | ตัวรับอิสระ |
23 | อิรินา คาปุสทินา | 20 เมษายน ค.ศ. 1998 | 189 | 300 | 284 | อินเดซิต-ลิเพตสค์ | ตัวตบหัวเสา |
25 | คเซเนีย สเมียร์โนวา | 24 เมษายน ค.ศ. 1998 | 186 | 315 | 305 | ยูรารอสกา-เอ็นทีเอ็มเค | ตัวตบหัวเสา |
26 | เอคาเตรีนา เอนีนา | 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 | 192 | 305 | 300 | ไดนาโม-มอสโก | ตัวบล็อกกลาง |
รางวัล
แก้ในฐานะสหภาพโซเวียต
- 1964 – เหรียญเงิน
- 1968 – เหรียญทอง
- 1972 – เหรียญทอง
- 1976 – เหรียญเงิน
- 1980 – เหรียญทอง
- 1984 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 1988 – เหรียญทอง
ในฐานะเครือรัฐเอกราช
- 1992 – เหรียญเงิน
ในฐานะรัสเซีย
- 1996 – อันดับที่ 4
- 2000 – เหรียญเงิน
- 2004 – เหรียญเงิน
- 2008 – อันดับที่ 5
- 2012 – อันดับที่ 5
- 2016 - อันดับที่ 5
ในฐานะสหภาพโซเวียต
- 1952 : เหรียญทอง
- 1956 : เหรียญทอง
- 1960 : เหรียญทอง
- 1962 : เหรียญเงิน
- 1967 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 1970 : เหรียญทอง
- 1974 : เหรียญเงิน
- 1978 : เหรียญทองแดง
- 1982 : อันดับที่ 6
- 1986 : อันดับที่ 6
- 1990 : เหรียญทอง
ในฐานะรัสเซีย
- 1994 : เหรียญทองแดง
- 1998 : เหรียญทองแดง
- 2002 : เหรียญทองแดง
- 2006 : เหรียญทอง
- 2010 : เหรียญทอง
- 2014 : อันดับที่ 5
- 2018 : อันดับที่ 8
ในฐานะสหภาพโซเวียต
- 1973 : เหรียญทอง
- 1977 : อันดับที่ 7
- 1981 : เหรียญทองแดง
- 1985 : เหรียญทองแดง
- 1989 : เหรียญเงิน
- 1991 : เหรียญทองแดง
ในฐานะรัสเซีย
- 1995 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 1999 : เหรียญเงิน
- 2003 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2007 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2015 : อันดับที่ 4
- 2019 : เหรียญทองแดง
ในฐานะรัสเซีย
- 1993 : เหรียญทองแดง
- 1997 : เหรียญทอง
- 2001 : เหรียญเงิน
- 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2013 : อันดับที่ 4
ในฐานะรัสเซีย
- 1993 : อันดับที่ 3
- 1994 : อันดับที่ 7
- 1995 : อันดับที่ 6
- 1996 : เหรียญทองแดง
- 1997 : เหรียญทอง
- 1998 : เหรียญเงิน
- 1999 : เหรียญทอง
- 2000 : เหรียญเงิน
- 2001 : เหรียญทองแดง
- 2002 : เหรียญทอง
- 2003 : เหรียญเงิน
- 2004 : อันดับที่ 7
- 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2006 : เหรียญเงิน
- 2007 : อันดับที่ 4
- 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2009 : เหรียญเงิน
- 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2011 : อันดับที่ 4
- 2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
- 2013 : อันดับที่ 7
- 2014 : เหรียญทองแดง
- 2015 : เหรียญเงิน
- 2016 : อันดับที่ 4
- 2017 : อันดับที่ 9
ในฐานะสหภาพโซเวียต
- 1949 : เหรียญทอง
- 1950 : เหรียญทอง
- 1951 : เหรียญทอง
- 1955 : เหรียญเงิน
- 1958 : เหรียญทอง
- 1963 : เหรียญทอง
- 1967 : เหรียญทอง
- 1971 : เหรียญทอง
- 1975 : เหรียญทอง
- 1977 : เหรียญทอง
- 1979 : เหรียญทอง
- 1981 : เหรียญเงิน
- 1983 : เหรียญเงิน
- 1985 : เหรียญทอง
- 1987 : เหรียญเงิน
- 1989 : เหรียญทอง
- 1991 : เหรียญทอง
ในฐานะรัสเซีย
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ วอลเลย์บอลไทย: เมื่อ กาโมว่า หันหลังให้กับทีมชาติ
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อยูริ
- ↑ Sport - Manager Online - ตบสาวไทยชนทีมไวลด์การ์ดประเดิมเวิลด์ แกรนด์ฯ[ลิงก์เสีย]
- ↑ สาวไทยเจ๋งโค่นรัสเซีย 3-1 เซต, ซิวที่5เวิลด์แกรนด์
หนังสือ
แก้- Волейбол: Энциклопедия / Сост. В. Л. Свиридов, О. С. Чехов.— Томск: Компания «Янсон», 2001.