วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังปรีซ์ (อังกฤษ: FIVB Volleyball World Grand Prix) เป็นการแข่งวอลเลย์บอลหญิง มีการจัดการแข่งขันเป็นประจำทุกปี การแข่งขันเริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1993 การแข่งขันสำหรับผู้ชายเรียกว่าเวิลด์ลีก

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1993
ยุบค.ศ. 2017
แทนที่โดยเนชันส์ลีก
แชลเลนเจอร์คัพ
จำนวนทีม12 ทีมในดิวิชัน 1
12 ทีมในดิวิชัน 2
8 ทีมในดิวิชัน 3
ทวีปนานาชาติ (FIVB)
ทีมชนะเลิศล่าสุดธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 12)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติบราซิล บราซิล (12 สมัย)

ในปี ค.ศ. 2018 เวิลด์กรังด์ปรีซ์ถูกแทนที่โดยรายการใหม่ ในชื่อ วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก และแชลเลนเจอร์คัพ[1][2]

เจ้าภาพ แก้

รายชื่อเจ้าภาพตามจำนวนเจ้าภาพรอบชิงชนะเลิศ

จำนวนครั้ง เจ้าภาพ ปี
8   จีน 1994, 1995, 1996, 1999, 2007, 2010, 2012, 2017
6   ญี่ปุ่น 1997, 2005, 2008, 2009, 2013, 2014
3   ฮ่องกง 1993, 1998, 2002
3   อิตาลี 2003, 2004, 2006
2   มาเก๊า 2001, 2011
1   ฟิลิปปินส์ 2000
1   สหรัฐ 2015
1   ไทย 2016

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน แก้

จีนและญี่ปุ่น เป็นสองทีมที่เข้าร่วมในการแข่งขันทุกครั้งของวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

  ทีมในดิวิชัน 1
  ทีมในดิวิชัน 2
  ทีมในดิวิชัน 3
  ทีมที่ไม่ได้เข้าร่วมในเวิลด์กรังด์ปรีซ์
ทีม รอบคัดเลือก รอบสุดท้าย
จำนวน ครั้งแรก ครั้งล่าสุด จำนวน ครั้งแรก ครั้งล่าสุด
  จีน 25 1993 2017 24 1993 2017
  ญี่ปุ่น 25 1993 2017 13 1993 2015
  บราซิล 24 1993 2017 23 1993 2017
  สหรัฐ 24 1993 2017 12 1995 2017
  คิวบา 22 1993 2016 13 1993 2012
  รัสเซีย 21 1993 2017 16 1993 2016
  อิตาลี 19 1994 2017 12 1999 2017
  เกาหลีใต้ 18 1993 2017 4 1993 2003
  เยอรมนี 18 1993 2017 4 2001 2009
  ไทย 15 2002 2017 3 2011 2016
  เนเธอร์แลนด์ 14 1994 2017 6 2003 2017
  โปแลนด์ 14 2004 2017 2 2007 2010
  สาธารณรัฐโดมินิกัน 14 2004 2017
  คาซัคสถาน 8 2007 2017
  ปวยร์โตรีโก 8 2009 2017
  เซอร์เบีย 7 2011 2017 3 2011 2017
  ตุรกี 7 2008 2017 2 2012 2014
  อาร์เจนตินา 7 2011 2017
  เปรู 6 1994 2017
  แคนาดา 5 2003 2017
  แอลจีเรีย 5 2013 2017
  บัลแกเรีย 5 2013 2017
  เช็กเกีย 5 2013 2017
  เบลเยียม 4 2014 2017 1 2014 2014
  จีนไทเป 4 1994 2012
  ออสเตรเลีย 4 2014 2017
  โครเอเชีย 4 2014 2017
  เม็กซิโก 4 2014 2017
  เคนยา 3 2014 2016
  โคลอมเบีย 3 2015 2017
  อาเซอร์ไบจาน 1 2006 2006
  แคเมอรูน 1 2017 2017
  ฝรั่งเศส 1 2017 2017
  ฮังการี 1 2017 2017
  ตรินิแดดและโตเบโก 1 2017 2017
  เวเนซุเอลา 1 2017 2017

สรุปการแข่งขัน แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 ทีม
IR / FR
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1993
รายละเอียด
 
ฮ่องกง
 
คิวบา
3–0  
จีน
 
รัสเซีย
3–1  
บราซิล
8 / 6
1994
รายละเอียด
 
เซี่ยงไฮ้
 
บราซิล
พบกันหมด  
คิวบา
 
จีน
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
12 / 6
1995
รายละเอียด
 
เซี่ยงไฮ้
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
บราซิล
 
คิวบา
พบกันหมด  
จีน
8 / 4
1996
รายละเอียด
 
เซี่ยงไฮ้
 
บราซิล
พบกันหมด  
คิวบา
 
รัสเซีย
พบกันหมด  
จีน
8 / 4
1997
รายละเอียด
 
โคเบะ
 
รัสเซีย
พบกันหมด  
คิวบา
 
เกาหลีใต้
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
8 / 4
1998
รายละเอียด
 
ฮ่องกง
 
บราซิล
3–0  
รัสเซีย
 
คิวบา
3–1  
จีน
8 / 4
1999
รายละเอียด
 
ยู่ซี
 
รัสเซีย
3–0  
บราซิล
 
จีน
3–1  
อิตาลี
8 / 4
2000
รายละเอียด
 
เกซอนซิตี
 
คิวบา
3–1  
รัสเซีย
 
บราซิล
3–1  
จีน
8 / 4
2001
รายละเอียด
 
มาเก๊า
 
สหรัฐ
3–1  
จีน
 
รัสเซีย
3–0  
คิวบา
8 / 4
2002
รายละเอียด
 
ฮ่องกง
 
รัสเซีย
3–1  
จีน
 
เยอรมนี
3–1  
บราซิล
8 / 4
2003
รายละเอียด
 
อานดรีอา
 
จีน
พบกันหมด  
รัสเซีย
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
เนเธอร์แลนด์
12 / 6
2004
รายละเอียด
 
เรจโจคาลาเบรีย
 
บราซิล
3–1  
อิตาลี
 
สหรัฐ
3–0  
คิวบา
12 / 6
2005
รายละเอียด
 
เซ็นได
 
บราซิล
พบกันหมด  
อิตาลี
 
จีน
พบกันหมด  
คิวบา
12 / 6
2006
รายละเอียด
 
เรจโจคาลาเบรีย
 
บราซิล
3–1  
รัสเซีย
 
อิตาลี
3–2  
คิวบา
12 / 6
2007
รายละเอียด
 
หนิงโป
 
เนเธอร์แลนด์
พบกันหมด  
จีน
 
อิตาลี
พบกันหมด  
รัสเซีย
12 / 6
2008
รายละเอียด
 
โยะโกะฮะมะ
 
บราซิล
พบกันหมด  
คิวบา
 
อิตาลี
พบกันหมด  
สหรัฐ
16 / 6
2009
รายละเอียด
 
โตเกียว
 
บราซิล
พบกันหมด  
รัสเซีย
 
เยอรมนี
พบกันหมด  
เนเธอร์แลนด์
16 / 6
2010
รายละเอียด
 
หนิงโป
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
บราซิล
 
อิตาลี
พบกันหมด  
จีน
16 / 6
2011
รายละเอียด
 
มาเก๊า
 
สหรัฐ
3–0  
บราซิล
 
เซอร์เบีย
3–0  
รัสเซีย
16 / 8
2012
รายละเอียด
 
หนิงโป
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
บราซิล
 
ตุรกี
พบกันหมด  
ไทย
16 / 6
2013
รายละเอียด
 
ซัปโปะโระ
 
บราซิล
พบกันหมด  
จีน
 
เซอร์เบีย
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
20 / 6
2014
รายละเอียด
 
โตเกียว
 
บราซิล
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
 
รัสเซีย
พบกันหมด  
ตุรกี
28 / 6
2015
รายละเอียด
 
โอมาฮา
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
รัสเซีย
 
บราซิล
พบกันหมด  
จีน
28 / 6
2016
รายละเอียด
 
กรุงเทพมหานคร
 
บราซิล
3–2  
สหรัฐ
 
เนเธอร์แลนด์
3–2  
รัสเซีย
28 / 6
2017
รายละเอียด
 
หนานจิง
 
บราซิล
3–2  
อิตาลี
 
เซอร์เบีย
3–1  
จีน
32 / 6

สรุปเหรียญ แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  บราซิล125219
2  สหรัฐ6129
3  รัสเซีย36413
4  คิวบา2428
5  จีน1539
6  เนเธอร์แลนด์1012
7  อิตาลี0347
8  ญี่ปุ่น0101
9  เซอร์เบีย0033
10  เยอรมนี0022
11  ตุรกี0011
  เกาหลีใต้0011
รวม (12 ประเทศ)25252575

ผู้เล่นทรงคุณค่า แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. FIVB drastically changes format for 2018 World League and Grand Prix - World of Volley, 19 June 2017
  2. "FIVB announces the Volleyball Nations League". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-20. สืบค้นเมื่อ 2017-10-16.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้