SN
|
ชื่อ
|
อักษรย่อ
|
ชนิด
|
เนื้อเยื่อ
|
เซลล์
|
ตัวรับ
|
เนื้อเยื่อเป้าหมาย
|
ส่งผลต่อ
|
1
|
อะดรีนาลีน/เอพิเนฟรีน
|
EPI
|
อนุพันธ์ของกรดอะมิโน
|
ต่อมหมวกไต
|
ต่อมหมวกไตส่วนใน / ไทโรซีน
|
แอดรีเนอจิกรีเซพเตอร์
|
เนื้อเยื่อเกือบทุกชนิด
|
ความดันเลือด, การสลายไกลโคเจน, การย่อยไขมัน, ฯลฯ
|
2
|
เมลาโทนิน
|
MT
|
อนุพันธ์ของกรดอะมิโน
|
ต่อมไพเนียล
|
ไพเนียลโลไซต์ / ทริปโทแฟน
|
เมลาโทนินรีเซพเตอร์
|
ระบบประสาทส่วนกลางและเนื้อเยื่อส่วนปลาย
|
นาฬิกาชีวภาพ
|
3
|
นอร์อะดรีนาลีน
(หรือ นอร์เอพิเนฟรีน)
|
NE
|
อนุพันธ์ของกรดอะมิโน
|
ต่อมหมวกไต
|
ต่อมหมวกไตส่วนใน / ไทโรซีน
|
นอร์อะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์
|
เนื้อเยื่อเกือบทุกชนิด
|
ความดันเลือด, การสลายไกลโคเจน, การสลายไขมัน, ฯลฯ
|
4
|
ไตรไอโอโดไทโรนีน
|
T3
|
อนุพันธ์ของกรดอะมิโน
|
เนื้อเยื่อส่วนปลายของต่อมไทรอยด์
|
ไทรอยด์ฟอลลิคูลาร์เซลล์ / ไทโรซีน
|
ไทรอยด์ฮอร์โมนรีเซพเตอร์
|
เกือบทุกเซลล์ในร่างกาย
|
เพิ่มเมแทบอลิซึม
|
5
|
ไทร็อกซีน
|
T4
|
อนุพันธ์ของกรดอะมิโน
|
ต่อมไทรอยด์
|
ไทรอยด์ฟอลลิคูลาร์เซลล์ / ไทโรซีน
|
ไทรอยด์ฮอร์โมนรีเซพเตอร์
|
เกือบทุกเซลล์ใร่างกาย
|
มีผลใกล้เคียงกับ T3 แต่ออกฤทธิ์อ่อนกว่า; ถูกเซลล์เป้าหมายเปลี่ยนไปเป็น T3
|
6
|
โดพามีน
|
DA
|
อนุพันธ์ของกรดอะมิโน
|
ซับสแตนเชียไนกรา (ส่วนใหญ่)
|
ฟีนิลอะลานีน / ไทโรซีน
|
D1 และ D2
|
ทั่วทั้งร่างกาย
|
รักษาระดับของ cAMP ในเซลล์, ทำงานตรงกันข้ามกับโพรแลกทิน
|
1
|
พรอสตาแกลนดิน
|
PG
|
ไอโคซานอยด์
|
ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ
|
|
พรอสตาแกลนดินรีเซพเตอร์
|
|
การขยายหลอดเลือด
|
2
|
ลิวโคไตรอีน
|
LT
|
ไอโคซานอยด์
|
เลือด
|
เม็ดเลือดขาว
|
หน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน
|
|
เพิ่มสภาพให้ซึมผ่านได้ของหลอดเลือด
|
3
|
พรอสตาไซคลิน
|
PGI2
|
ไอโคซานอยด์
|
|
|
พรอสตาไซคลินรีเซพเตอร์
|
|
การขยายหลอดเลือด, ยับยั้งตัวกระตุ้นเกล็ดเลือด
|
4
|
ทรอมบ็อกเซน
|
TXA2
|
ไอโคซานอยด์
|
เลือด
|
เกล็ดเลือด
|
ทรอมบ็อกเซนรีเซพเตอร์
|
|
การบีบหลอดเลือด, การรวมกลุ่มของเกล็ดเลือด
|
1
|
อะไมลิน
(หรือ ไอส์เลตอะไมลอยด์โพลิเพปไทด์)
|
IAPP
|
เพปไทด์ |
ตับอ่อน |
เซลล์บีตาในตับอ่อน |
อะไมลินรีเซพเตอร์ |
|
ชะลอการทำให้กระเพาะอาหารว่าง, ยับยั้งการหลั่งสารจากระบบทางเดินอาหาร เพื่อลดการรับอาหารเข้าสู่ร่างกาย
|
2
|
แอนติมึลเลอเรียนฮอร์โมน
(หรือ มึลเลอเรียนอินฮิบิติงแฟกเตอร์/ฮอร์โมน)
|
AMH (หรือ MIF, MIH)
|
เพปไทด์ |
อัณฑะ |
เซลล์เซอทอไล |
AMHR2 |
|
ยับยั้งการหลั่งโพรแลกทิน และไทโรโทรพิน-รีลีซิงฮอร์โมน จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
|
3
|
อะดิโพเนกติน |
Acrp30
|
เพปไทด์ |
เนื้อเยื่อไขมัน |
|
อะดิโพเนกตินรีเซพเตอร์ |
|
รักษาระดับกลูโคส
|
4
|
อะดรีโนคอติโคทรอปิกฮอร์โมน
(หรือ คอร์ติโคโทรปิน)
|
ACTH
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า |
คอนิโคโทรพ |
อะดรีโนคอติโคทรอปิกฮอร์โมนรีเซพเตอร์ → cAMP |
|
การสังเคราะห์คอติโคสเตอรอยด์ (กลูโคคอติคอยด์และแอนโดรเจน) ของเซลล์ต่อมหมวกไตส่วนนอก
|
5
|
แองจิโอเทนซิโนเจน และ
แองจิโอเทนซิน
|
AGT
|
เพปไทด์ |
ตับ |
|
แองจิโอเทนซินรีเซพเตอร์ → IP3 |
|
การบีบหลอดเลือด
การหลั่งอัลโดสเตอร์โรนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก
ไดเพปซิน.
|
6
|
แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน
(หรือ วาโซเพรสซิน, อาร์จินีนวาโซเพรสซิน)
|
ADH
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง |
พาร์โวเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีเซลล์ในไฮโพทาลามัส แมกโนเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีเซลล์ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง |
AVPRs, VACM-1 |
|
การสงวนน้ำที่ไต ควบคุมการบีบหลอดเลือด การหลั่ง ACTH ที่ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
|
7
|
เอเทรียลเนทริยูเรติกเพปไทด์
(หรือ เอทริโอเพปทิน)
|
ANP
|
เพปไทด์ |
หัวใจ |
|
ANP รีเซพเตอร์ → cGMP |
|
เพิ่มการหลั่งโซเดียมและ GFR , ต้านการหดตัวของหลอดเลือดดำ, ยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนเรนิน
|
8
|
เบรนเนทริยูเรติกเพปไทด์ |
BNP
|
เพปไทด์ |
หัวใจ[ไม่แน่ใจ – พูดคุย] |
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ |
NPR |
|
ลดความดันเลือด (แต่ในระดับที่อ่อนกว่า ANP) โดยการ:
ลดการหมุนเวียนเลือดและแรงต้านของหลอดเลือด
ลดน้ำ โซเดียม และไขมันในเลือด
|
9
|
แคลซิโทนิน |
CT
|
เพปไทด์ |
ต่อมไทรอยด์ |
เซลล์พาราฟอลลิคูลาร์ |
CT รีเซพเตอร์ → cAMP |
|
การสร้างกระดูก, ลดระดับ Ca2+ ในเลือด
|
10
|
โคเลซิสโตไคนิน |
CCK
|
เพปไทด์ |
ดูโอดีนัม |
|
CCK รีเซพเตอร์ |
|
การหลั่งเอนไซม์ย่อยอาหารจากตับอ่อน การหลั่งน้ำดีจากถุงน้ำดี ระงับความอยากอาหาร
|
11
|
คอร์ติโคโทรพิน-รีลิสซิงฮอร์โมน |
CRH
|
เพปไทด์ |
ไฮโพทาลามัส |
|
CRF1 → cAMP |
|
การหลั่ง ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
|
12
|
คอร์ทิสแตติน |
CORT
|
เพปไทด์ |
เปลือกสมอง |
เซลล์ประสาทยับยั้ง |
โซมาโตสแตตินรีเซพเตอร์ |
|
กดกิจกรรมทางระบบประสาท; เหนี่ยวนำการหลับแบบ slow wave; ลดการเคลื่อนไหวร่างกาย; กระตุ้น cation selective current ที่นอกเหนือการทำงานของโซมาโตสแตติน
|
13
|
เองเคฟาลิน |
|
เพปไทด์ |
ไต |
เซลล์โครมาฟฟิน |
โอพิออยด์รีเซพเตอร์ |
|
ความเจ็บปวด
|
14
|
เอนโดทีลิน |
|
เพปไทด์ |
เยื่อบุเส้นเลือด |
เซลล์เอนโดทีเลียม |
ET รีเซพเตอร์ |
|
การหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบในหลอดเลือดขนาดกลาง
|
15
|
อิริโทรโพอีทิน |
EPO
|
เพปไทด์ |
ไต |
เซลล์เอกซ์ตราโกลเมอรูลาร์มีแซงเจียล |
EpoR |
|
กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
|
16
|
ฟอลลิเคิล-สติมูเลติงฮอร์โมน |
FSH
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า |
โกแนโดโทรพ |
FSH รีเซพเตอร์ → cAMP |
|
ในเพศหญิง: กระตุ้นการเจริญเต็มที่ของกราเฟียนฟอลลิเคิลในรังไข่.
ในเพศชาย: การสร้างสเปิร์ม, เสริมการทำงานของแอนโดรเจน-ไบดิงโปรตีนโดยเซลล์เซอทอไลในอัณฑะ
|
17
|
กาลานิน |
GAL
|
เพปไทด์ |
ระบบประสาทส่วนกลางและทางเดินอาหาร |
|
GALR1, GALR2, และ GALR3 |
|
ควบคุมและยับยั้งศักย์ทำงานของเซลล์ประสาท
|
18
|
แกสตริอินฮิบิทอรีโพลิเพปไทด์ |
GIP
|
เพปไทด์ |
ชั้นมูโคซาของดูโอดีนัมและเจจูนัม |
เซลล์เค |
GIPR |
|
ชักนำให้เกิดการหลั่งอินซูลิน
|
19
|
แกสตริน |
GAS
|
เพปไทด์ |
กระเพาะอาหาร, ดูโอดีนัม |
G cell |
CCK2 |
|
การหลั่งกรดในกระเพาะอาหารโดยเซลล์พารีทัล
|
20
|
กรีลิน |
|
เพปไทด์ |
กระเพาะ |
P/D1 cell |
กรีลินรีเซพเตอร์ |
|
กระตุ้นความอยากอาหาร,
การหลั่งโกรทฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
|
21
|
กลูคากอน |
GCG
|
เพปไทด์ |
ตับอ่อน |
เซลล์อัลฟา |
Glucagon receptor → cAMP |
|
การสลายไกลโคเจนและการสร้างกลูโคสในตับ
เพิ่มระดับกลูโคสในเลือด
|
22
|
กลูคากอนไลก์เพปไทด์-1 |
GLP1
|
เพปไทด์ |
ไอเลียม |
เซลล์แอล |
GLP1R, GLP2R |
เซลล์บีตาในตับอ่อน |
กระตุ้นวิถีอะดีนิลลิลไซเคลส ได้ผลเป็นการเพิ่มระดับการสร้างและการหลั่งอินซูลิน
|
23
|
โกแนโดโทรพินรีลิสซิงฮอร์โมน |
GnRH
|
เพปไทด์ |
ไฮโพทาลามัส |
|
GnRH รีเซพเตอร์ → IP3 |
|
การหลั่ง FSH และ LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า.
|
24
|
โกรทฮอร์โมนรีลิสซิงฮอร์โมน |
GHRH
|
เพปไทด์ |
ไฮโพทาลามัส |
|
GHRH รีเซพเตอร์ → IP3 |
|
การหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
|
25
|
เฮพซิดิน |
HAMP
|
เพปไทด์ |
ตับ |
|
เฟอโรพอทิน |
|
ยับยั้งการส่งธาตุเหล็กออกจากเซลล์
|
26
|
ฮิวแมนคอเรียนิกโกแนโดโทรพิน |
hCG
|
เพปไทด์ |
รก |
เซลล์ซินไซทิโอโทรโฟบลาสต์ |
LH รีเซพเตอร์ → cAMP |
|
คงโครงสร้างคอร์พัสลูเทียมไว้ในช่วงแรก ๆ ของการตั้งครรภ์ ยับยั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับตัวอ่อน
|
27
|
ฮิวแมนพลาเซนทัลแลกโทเจน |
HPL
|
เพปไทด์ |
รก |
|
|
|
เพิ่มการหลั่ง อินซูลิน และ IGF-1
เพิ่มความต้านทานอินซูลินและการแพ้คาร์โบไฮเดรต
|
28
|
โกรทฮอร์โมน |
GH หรือ hGH
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า |
โซมาโทโทรพ |
GH รีเซพเตอร์ |
|
กระตุ้นพัฒนาการ และการสร้างเซลล์
การหลั่ง อินซูลิน-ไลก์โกรทแฟกเตอร์จากตับ
|
29
|
อินฮิบิน |
|
เพปไทด์ |
อัณฑะ, รังไข่, ฟีตัส |
เซลล์เซอร์ทอไลในอัณฑะ เซลล์แกรนูโลซาในรังไข่ โทรโฟบลาสต์ในฟีตัส |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า |
|
ยับยั้งการสร้าง FSH
|
30
|
อินซูลิน |
INS
|
เพปไทด์ |
ตับอ่อน |
เซลล์บีตา |
อินซูลินรีเซพเตอร์, IGF-1, IGF-2 |
|
การนำเข้ากลูโคสจากเลือดสำหรับการสร้างไกลโคเจนและการสลายไกลโคเจน ที่ตับและกล้ามเนื้อ
การรับเข้าลิพิด และการสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์ในเซลล์ไขมัน
Other anabolic effects
|
31
|
อินซูลินไลก์โกรทแฟกเตอร์
(หรือ โซมาโทมีดิน)
|
IGF
|
เพปไทด์ |
ตับ |
เซลล์ตับ |
อินซูลินรีเซปเตอร์, IGF-1 |
|
ให้ผลคล้ายอินซูลิน
ควบคุมการเจริญและพัฒนาของเซลล์
|
32
|
เลพติน |
LEP
|
เพปไทด์ |
เนื้อเยื่อไขมัน |
|
LEP-R |
|
ลดความอยากอาหาร และเพิ่มเมแทบอลิซึม
|
33
|
ลิโพโทรปิน |
LPH
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า |
คอร์ติโคโทรพ |
|
|
การสลายไขมัน และการสร้างสเตียรอยด์, กระตุ้นเมลาโนไซต์ใหผลิตเมลานิน
|
34
|
ลูทิไนซิงฮอร์โมน |
LH
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า |
โกแนโดโทรพ |
LHR → cAMP |
|
ในเพศหญิง: การตกไข่
ในเพศชาย: กระตุ้นการสร้างเทสทอสเทอโรนของเซลล์เลย์ดิก
|
35
|
เมลาโนไซต์สติมูเลติงฮอร์โมน |
MSH หรือ α-MSH
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า/พาส์อินเทอร์มีเดีย |
เมลาโนทรอฟ |
เมลาโนคอร์ตินรีเซปเตอร์ → cAMP |
|
การสร้างเมลานินโดยเมลาโนไซต์ที่ผิวหนังและเส้นขน
|
36
|
โมทิลิน |
MLN
|
เพปไทด์ |
ลำไส้เล็ก |
|
โมทิลินรีเซพเตอร์ |
|
กระตุ้นการทำงานของระบบย่อยอาหาร
|
37
|
โอเร็กซิน |
|
เพปไทด์ |
ไฮโพทาลามัส |
|
OX1, OX2 |
|
เพิ่มความตื่นตัว การใช้พลังงาน และความอยากอาหาร
|
38
|
ออสทีโอแคลซิน |
OCN
|
เพปไทด์ |
กระดูก |
ออสทีโอบลาสต์ |
Gprc6a |
กล้ามเนื้อ สมอง ตับอ่อน อัณฑะ |
สนับสนุนการทำงานของกล้ามเนื้อ, ความจำ, การสังเคราะห์เทสทอสเทอโรนและการใช้พลังงาน[1]
|
39
|
ออกซิโทซิน |
OXT
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง |
แมกโนเซลลูลาร์นิวโรซิรีทอรีเซลล์ |
OXT รีเซพเตอร์ → IP3 |
|
การหลั่งน้ำนม
กระตุ้นการหดตัวของมดลูกและช่องคลอด เกี่ยวข้องกับความเสียวสุดยอดพางเพศ, ความเชื่อใจ,[2] และรักษานาฬิกาชีวภาพ (อุณหภูมิร่างกาย, ระดับกิจกรรม, ความตื่นตัว)[3]
|
40
|
แพนครีเอติกพอลิเพปไทด์ |
|
เพปไทด์ |
ตับอ่อน |
เซลล์พีพี |
pancreatic polypeptide receptor 1 |
|
ระบบบำรุงรักษาตัวเองของสารที่หลั่งจากตับอ่อน (เอนโดครินและเอกโซคริน) นอกจากนี้ยังมีผลต่อระดับไกลโคเจนในตับและสารที่หลั่งจากทางเดินอาหาร
|
41
|
พาราไทรอยด์ฮอร์โมน |
PTH
|
เพปไทด์ |
ต่อมพาราไทรอยด์ |
พาราไทรอยด์ชีฟเซลล์ |
PTH รีเซพเตอร์ → cAMP |
|
เพิ่มระดับ Ca2+:
ลดระดับฟอสเฟตในเลือด (เล็กน้อย):
- (ลดการดูดกลับที่ไตแต่เพิ่มการรับจากกระดูก
- กระตุ้นวิตามินดี)
|
42
|
พิทูอิทารีอะดีนิลเลต"ซเคลสแอกทิเวติงเพปไทด์ |
PACAP
|
เพปไทด์ |
เนื้อเยื่อหลายชนิด |
|
ADCYAP1R1, VIPR1, VIPR2 |
|
กระตุ้นเซลล์คล้ายเอนเทอโรโครมาฟฟิน
|
43
|
โพรแล็กทิน |
PRL
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า, มดลูก |
แลกโททรอฟของต่อมใต้สมองส่วนหน้า เซลล์เดซิดวลที่มดลูก |
PRL รีเซพเตอร์ |
|
การสร้างนมจากต่อมน้ำนม ความเสียวสุดยอดทางเพศหลังจากมีกิจกรรมทางเพศ
|
44
|
โพรแลกทินรีลิสซิงฮอร์โมน |
PRLH
|
เพปไทด์ |
ไฮโพทาลามัส |
|
|
|
การหลั่งโพรแลกทินจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
|
45
|
รีแล็กซิน |
RLN
|
เพปไทด์ |
คอร์พัสลูเทียม, มดลูก, รก, และต่อมน้ำนม |
เซลล์เดซิดวล |
RLN รีเซพเตอร์ |
|
ไม่ทราบแน่ชัดในมนุษย์
|
46
|
เรนิน |
|
เพปไทด์ |
ไต |
เซลล์จักซ์ตาโกลเมอรูลาร์ |
|
|
กระตุ้นระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน ด้วยการสร้าง angiotensin I ของแองจิโอเทนซิโนเจน
|
47
|
ซิครีทิน |
SCT
|
เพปไทด์ |
ดูโอดีนัม |
เซลล์เอส |
SCT รีเซพเตอร์ |
|
การหลั่งไบคาร์บอเนตจากตับ, ตับอ่อน และต่อมบรุนเนอร์ที่ดูโอดีนัม
เสริมผลของโคเลซิสโทไคนิน
หยุดการสร้างน้ำย่อย
|
48
|
โซมาโตสแตติน
(หรือ growth hormone–inhibiting hormone หรือ
growth hormone release–inhibiting hormone หรือ
somatotropin release–inhibiting factor หรือ somatotropin release–inhibiting hormone)
|
GHIH หรือ GHRIH หรือ SRIF หรือ SRIH
|
เพปไทด์ |
ไฮโพทาลามัส, ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์, ระบบย่อยอาหาร |
เซลล์เดลตาในไอส์เลต เซลล์นิวโรเอนโดครินที่พาราเวนทริคูลาร์นิวเคลียสของไฮโพทาลามัส |
โซมาโตสแตตินรีเซพเตอร์ |
|
ยับยั้งการหลั่ง GH และ TRH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ระงับการหลั่งของฮอร์โมนแกสทริน, โคเลซิสโทไคนิน (CCK), ซิครีทิน, โมทิลิน, วาโซแอกทีฟอินเทสทินัลเพปไทด์ (VIP), แกสตริกอินฮิบิทอรีเพปไทด์ (GIP), เอนเทอโรกลูคากอน ในระบบทางเดินอาหาร ลดอัตราการทำกระเพาะให้ว่าง
ลดการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบและการไหลของเลือดในลำไส้[4] ยับยั้งการหลั่งอินซูลินจากเซลล์บีตา[5] ยับยั้งการหลั่งกลูคากอนจากเซลล์อัลฟา[5] กดการทำงานแบบเอกโซครินของตับอ่อน.
|
49
|
ทรอมโบโพอีทิน |
TPO
|
เพปไทด์ |
ตับ, ไต, กล้ามเนื้อลาย |
เซลล์กล้ามเนื้อ |
TPO รีเซพเตอร์ |
เมกะคารีโอไซต์ |
สร้างเกล็ดเลือด[6]
|
50
|
ไทรอยด์-สติมูเลติงฮอร์โมน (หรือ ไทโรโทรพิน) |
TSH
|
เพปไทด์ |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า |
ไทโรโทรพ |
ไทโรโทรพินรีเซพเตอร์ → cAMP |
ต่อมไทรอยด์ |
การหลั่งไทรอกซีน (T4) และ ไทรไอโอโดไทโรนีน (T3)
|
51
|
ไทโรโทรพิน-รีลิสซิงฮอร์โมน |
TRH
|
เพปไทด์ |
ไฮโพทาลามัส |
พาร์โวเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีนิวรอน |
TRHR → IP3 |
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า |
การหลั่งไทรอยด์-สติมูเลติงฮอร์โมน (หลัก) กระตุ้นการหลั่งโพรแลกทิน
|
52
|
Vasoactive intestinal peptide |
VIP
|
เพปไทด์ |
ลำไส้, ตับอ่อน, and ซูพราไคแอสมาติกนิวคลีไอของไฮโพทาลามัส |
|
วาโซแอกทีฟอินเทสทีนัลเพปไทด์รีเซพเตอร์ |
|
กระตุ้นความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ, เป็นสาเหตุของการขยายหลอดเลือด, เพิ่มการสลายไกลโคเจน, ลดความดันเส้นเลือดแดง และคลายกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม, กระเพาะอาหารและถุงน้ำดี
|
53
|
กัวนิลลิน
|
GN
|
เพปไทด์
|
ลำไส้
|
|
กัวนิลเลตไซเคลส 2C (ฮีทสเตเบิลเอนเทอโรทอกซินรีเซพเตอร์)
|
|
รักษาระดับ อิเล็กโทรไลต์ และ การขนส่งน้ำ ที่เยื่อบุผิวไต
|
54
|
ยูโรกัวนิลลิน
|
UGN
|
เพปไทด์
|
เนื้อเยื่อไต
|
|
กัวนิลเลตไซเคลส 2C (ฮีทสเตเบิลเอนเทอโรทอกซินรีเซพเตอร์)
|
|
รักษาระดับ อิเล็กโทรไลต์ และ การขนส่งน้ำ ที่เยื่อบุผิวไต
|