รายชื่อรหัสประเทศโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

รหัสประเทศโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล เป็นรหัสประเทศที่ใช้ตัวอักษรย่อภาษาอังกฤษ 3 ตัว กำหนดโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (IOC) เพื่ออ้างถึงนักกีฬาแต่ละกลุ่มที่เข้าร่วมในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก แต่ละรหัสมักจะระบุถึงคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (NOC) แต่มีหลายรหัสที่ใช้สำหรับกรณีอื่น ๆ ในการแข่งขันที่ผ่านมา เช่น ทีมที่ประกอบด้วยนักกีฬาจากหลายประเทศหรือกลุ่มนักกีฬาที่ไม่ได้เป็นตัวแทนของประเทศอย่างเป็นทางการ รหัสนี้นอกจากใช้ในกีฬาโอลิมปิกแล้ว ยังสามารถใช้ในการแข่งขันกีฬาอื่น ๆ ได้ด้วย เช่น พาราลิมปิก หรือเอเชียนเกมส์

ธง 5 ห่วง ที่ใช้ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก

รหัสประเทศแบบโอลิมปิกของหลายประเทศมีความแตกต่างจากรหัสมาตรฐาน ISO 3166-1 alpha-3 แต่องค์กรกีฬาอื่น ๆ เช่น สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) ใช้รหัสประเทศแบบนี้ แต่ก็ยังมีความแตกต่างกันบ้างในรหัสบางประเทศ และยังมีองค์กรอื่นๆ เช่น สมาพันธ์กีฬาเครือจักรภพหรือสมาคมนักเทนนิสมืออาชีพที่ใช้รหัสเดียวกับคณะกรรมการโอลิมปิกสากล

ประวัติ

แก้

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 1956 และโอลิมปิกฤดูร้อน 1960 เป็นครั้งแรกที่มีการใช้อักษรย่อชื่อประเทศแทนคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (NOC) ในการตีพิมพ์รายงานทางการ [1] แต่ในช่วงแรกมักใช้อักษรย่อตามภาษาของประเทศเจ้าภาพ (เช่น ประเทศญี่ปุ่น ใช้ GIA ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1956 และโอลิมปิกฤดูร้อน 1960 ซึ่งทั้งสองครั้งประเทศอิตาลีเป็นเจ้าภาพ โดยในภาษาอิตาลีเขียนชื่อประเทศญี่ปุ่นเป็น Giappone) หรือเรียกตามชื่อภาษาฝรั่งเศส (เช่น COR แทนประเทศเกาหลี ซึ่งในภาษาฝรั่งเศสเรียกว่า Corée) โดยรหัสมาตรฐานส่วนใหญ่ที่ใช้จนถึงปัจจุบันเริ่มใช้จริงจังในโอลิมปิกฤดูหนาว 1972 แต่บางประเทศมีการเปลี่ยนแปลงในหลายปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ จากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต การแบ่งและการรวมประเทศเยอรมนี การล่มสลายของยูโกสลาเวีย การยุบเชโกสโลวาเกีย และการเปลี่ยนชื่อทางภูมิศาสตร์อีกหลายครั้งทำให้รหัสประเทศเปลี่ยนตามไปด้วย

นอกเหนือจากรายชื่อรหัส NOCs ที่มีมากกว่า 200 รหัสนี้ แล้วนั้นการเข้าร่วมแข่งขันของคณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติ (NPCs) ในพาราลิมปิกนั้น ต้องการรหัส IOC ที่ได้มาตรฐานเช่นเดียวกัน เช่น มาเก๊า (หรือ "เขตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน" ตั้งแต่ปี 1999) และหมู่เกาะแฟโร จะใช้รหัส MAC และ FRO ตามลำดับ [2][3]

รหัสคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติปัจจุบัน

แก้

ปัจจุบันมีรหัสประเทศแบบโอลิมปิก 206 รหัส ในตารางต่อไปนี้แสดงทั้งรหัสปัจจุบันและรหัสที่เคยใช้ในอดีต รหัสที่ใช้เฉพาะโอลิมปิกฤดูร้อนกับฤดูหนาวเท่านั้นจะกำกับด้วย "S" และ "W" ตามลำดับ

รหัส ประเทศ/รัฐ/ดินแดน รหัสอื่นที่เคยใช้ อ้างอิง
AFG   อัฟกานิสถาน [2]
ALB   แอลเบเนีย [3]
ALG   แอลจีเรีย
  • AGR (1964)
  • AGL (1968 S) from Spanish Argelia
[4]
AND   อันดอร์รา [5]
ANG   แองโกลา ANO[4] [6]
ANT   แอนทีกาและบาร์บิวดา [7]
ARG   อาร์เจนตินา [8]
ARM   อาร์มีเนีย [9]
ARU   อารูบา [10]
ASA   อเมริกันซามัว AMS[4] [11]
AUS   ออสเตรเลีย [12]
AUT   ออสเตรีย current code from French Autriche [13]
AZE   อาเซอร์ไบจาน [14]
BAH   บาฮามาส [15]
BAN   บังกลาเทศ [16]
BAR   บาร์เบโดส BAD (1964) [17]
BDI   บุรุนดี [18]
BEL   เบลเยียม [19]
BEN   เบนิน
  • DAY (1964)
  • DAH (1968–1976) as Dahomey
[20]
BER   เบอร์มิวดา [21]
BHU   ภูฏาน [22]
BIH   บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา BSH (1992 S), BOS[4] [23]
BIZ   เบลีซ HBR (1968–1972) as British Honduras Also BHO[4] [24]
BLR   เบลารุส [25]
BOL   โบลิเวีย [26]
BOT   บอตสวานา [27]
BRA   บราซิล [28]
BRN   บาห์เรน BHR[4] [29]
BRU   บรูไน [30]
BUL   บัลแกเรีย [31]
BUR   บูร์กินาฟาโซ VOL (1972–1984) as Upper Volta Also BKF[4] [32]
CAF   แอฟริกากลาง AFC (1968) [33]
CAM   กัมพูชา
[34]
CAN   แคนาดา [35]
CAY   หมู่เกาะเคย์แมน [36]
CGO   สาธารณรัฐคองโก [37]
CHA   ชาด CHD (1964) [38]
CHI   ชิลี
  • CIL (1956 W
  • 1960 S) from Italian Cile
[39]
CHN   จีน PRC (1952 S) as People's Republic of China [40]
CIV   โกตดิวัวร์
  • IVC (1964)
  • CML (1968) from Spanish Costa de Marfil
current code from French Côte d'Ivoire
[41]
CMR   แคเมอรูน [42]
COD   สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
[43]
COK   หมู่เกาะคุก CKI[4] [44]
COL   โคลอมเบีย [45]
COM   คอโมโรส [46]
CPV   กาบูเวร์ดี CVD[4] [47]
CRC   คอสตาริกา COS (1964) [48]
CRO   โครเอเชีย [49]
CUB   คิวบา [50]
CYP   ไซปรัส [51]
CZE   เช็กเกีย [52]
DEN   เดนมาร์ก
  • DAN (1960 S
  • 1968 W)
  • DIN (1968 S)
previous codes taken from Italian Danimarca, French Danemark and Spanish Dinamarca
[53]
DJI   จิบูตี [54]
DMA   ดอมินีกา DMN[4] [55]
DOM   สาธารณรัฐโดมินิกัน [56]
ECU   เอกวาดอร์ [57]
EGY   อียิปต์
previous codes taken from Italian Repubblica Araba Unita, French République Arabe Unie and Spanish República Árabe Unida
[58]
ERI   เอริเทรีย [59]
ESA   เอลซัลวาดอร์ SAL (1964–1976) [60]
ESP   สเปน
  • SPA (1956–1964
  • 1968 W)
current code taken from French Espagne or Spanish España
[61]
EST   เอสโตเนีย [62]
ETH   เอธิโอเปีย
  • ETI (1960
  • 1968)
[63]
FIJ   ฟีจี FIG (1960) from Italian Figi [64]
FIN   ฟินแลนด์ [65]
FRA   ฝรั่งเศส [66]
FSM   ไมโครนีเชีย [67]
GAB   กาบอง [68]
GAM   แกมเบีย [69]
GBR   สหราชอาณาจักร
  • GRB (1956 W–1960)
  • GBI (1964)
[70]
GBS   กินี-บิสเซา [71]
GEO   จอร์เจีย [72]
GEQ   อิเควทอเรียลกินี [73]
GER   เยอรมนี [74]
GHA   กานา   โกลด์โคสต์ (1952) [75]
GRE   กรีซ [76]
GRN   กรีเนดา [77]
GUA   กัวเตมาลา GUT (1964) [78]
GUI   กินี [79]
GUM   กวม [80]
GUY   กายอานา
  • GUA (1960)
  • GUI (1964)
BGU[4]
[81]
HAI   เฮติ [82]
HKG   ฮ่องกง, China HOK (1960–1968) [83]
HON   ฮอนดูรัส [84]
HUN   ฮังการี
  • UNG (1956 W
  • 1960 S) from Italian Ungheria
[85]
INA   อินโดนีเซีย INS (1960) [86]
IND   อินเดีย [87]
IRI   อิหร่าน
  • IRN (1956–1988)
  • IRA (1968 W)
current code from Islamic Republic of Iran
[88]
IRL   ไอร์แลนด์ [89]
IRQ   อิรัก
  • IRK (1960
  • 1968) from French/Spanish Irak
[90]
ISL   ไอซ์แลนด์
  • ICE (1960 W
  • 1964 S)
current code taken from French Islande, Icelandic Ísland or Spanish Islandia
[91]
ISR   อิสราเอล [92]
ISV   หมู่เกาะเวอร์จิน current code taken from French Îles Vierges (des États-Unis) [93]
ITA   อิตาลี [94]
IVB   หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน current code taken from French Îles Vierges britanniques [95]
JAM   จาเมกา [96]
JOR   จอร์แดน [97]
JPN   ญี่ปุ่น
  • GIA (1956 W
  • 1960 S) from Italian Giappone
  • JAP (1960 W)
[98]
KAZ   คาซัคสถาน [99]
KEN   เคนยา [100]
KGZ   คีร์กีซสถาน [101]
KIR   คิริบาส [102]
KOR   เกาหลีใต้
  • COR (1956 W
  • 1960 S
  • 1968 S
  • 1972 S)
previous code taken from Italian Corea, French Corée and Spanish Corea
[103]
KOS   คอซอวอ [104]
KSA   ซาอุดีอาระเบีย
  • ARS (1968–1976) from French Arabe saoudite
  • SAU (1980–1984)
current code from Kingdom of Saudi Arabia
[105]
KUW   คูเวต [106]
LAO   ลาว [107]
LAT   ลัตเวีย [108]
LBA   ลิเบีย
  • LYA (1964)
  • LBY (1968 W)
[109]
LBN   เลบานอน
  • LEB (1960 W
  • 1964 S)
  • LIB (1964–2016) from French Liban
[110]
LBR   ไลบีเรีย [111]
LCA   เซนต์ลูเชีย [112]
LES   เลโซโท [113]
LIE   ลีชเทินชไตน์
  • LIC (1956 W
  • 1964 S
  • 1968 W)
[114]
LTU   ลิทัวเนีย LIT (1992 W) [115]
LUX   ลักเซมเบิร์ก [116]
MAD   มาดากัสการ์ MAG (1964) [117]
MAR   โมร็อกโก MRC (1964)
current code from French Maroc
[118]
MAS   มาเลเซีย MAL (1964–1988) [119]
MAW   มาลาวี [120]
MDA   มอลโดวา MLD (1994) [121]
MDV   มัลดีฟส์ [122]
MEX   เม็กซิโก [123]
MGL   มองโกเลีย MON (1968 W) [124]
MHL   หมู่เกาะมาร์แชลล์ [125]
MKD   มาซิโดเนียเหนือ current code taken from Macedonian Македонија/Makedonija [126]
MLI   มาลี [127]
MLT   มอลตา MAT (1960–1964) [128]
MNE   มอนเตเนโกร [129]
MON   โมนาโก [130]
MOZ   โมซัมบิก [131]
MRI   มอริเชียส [132]
MTN   มอริเตเนีย [133]
MYA   พม่า
  • BIR (1948–1960
  • 1968–1988) from French Birmanie
  • BUR (1964) as Burma
[134]
NAM   นามิเบีย [135]
NCA   นิการากัว
  • NCG (1964)
  • NIC (1968)
[136]
NED   เนเธอร์แลนด์
  • OLA (1956 W) from Italian Olanda
  • NET (1960 W)
  • PBA (1960 S) from Italian Paesi Bassi
  • NLD (1964 S)
  • HOL (1968–1988) as Holland
[137]
NEP   เนปาล [138]
NGR   ไนจีเรีย
  • NIG (1960 S)
  • NGA (1964)
[139]
NIG   ไนเจอร์ NGR (1964) [140]
NOR   นอร์เวย์ [141]
NRU   นาอูรู [142]
NZL   นิวซีแลนด์
  • NZE (1960
  • 1968 W)
[143]
OMA   โอมาน [144]
PAK   ปากีสถาน [145]
PAN   ปานามา [146]
PAR   ปารากวัย [147]
PER   เปรู [148]
PHI   ฟิลิปปินส์
  • FIL (1960
  • 1968) from Italian Filippine and Spanish Filipinas
[149]
PLE   ปาเลสไตน์ [150]
PLW   ปาเลา [151]
PNG   ปาปัวนิวกินี
  • NGY (1976–1980)
  • NGU (1984–1988)
[152]
POL   โปแลนด์ [153]
POR   โปรตุเกส [154]
PRK   เกาหลีเหนือ
  • NKO (1964 S
  • 1968 W)
  • CDN (1968) from French Corée du Nord or Spanish Corea del Norte
current code from People's Republic of Korea
[155]
PUR   ปวยร์โตรีโก
  • PRI (1960)
  • PRO (1968)
[156]
QAT   กาตาร์ [157]
ROU   โรมาเนีย
  • ROM (1956–1960
  • 1972–2006)
  • RUM (1964–1968) from Spanish Rumania
current code from French Roumanie
[158]
RSA   แอฟริกาใต้ SAF (1960–1972)
current code from Republic of South Africa
[159]
RUS   รัสเซีย [160]
RWA   รวันดา [161]
SAM   ซามัว [162]
SEN   เซเนกัล SGL (1964) [163]
SEY   เซเชลส์ [164]
SGP   สิงคโปร์ SIN (1959–2016) [165]
SKN   เซนต์คิตส์และเนวิส [166]
SLE   เซียร์ราลีโอน SLA (1968) [167]
SLO   สโลวีเนีย [168]
SMR   ซานมารีโน SMA (1960–1964) [169]
SOL   หมู่เกาะโซโลมอน [170]
SOM   โซมาเลีย [171]
SRB   เซอร์เบีย [172]
SRI   ศรีลังกา
  • CEY (1948–1964
  • 1972) as Ceylon
  • CEI (1968 S) from Spanish Ceilán
[173]
SSD   ซูดานใต้ [174]
STP   เซาตูแมอีปริงซีป [175]
SUD   ซูดาน [176]
SUI   สวิตเซอร์แลนด์
  • SVI (1956 W
  • 1960 S) from Italian Svizzera
  • SWI (1960 W
  • 1964 S)
current code from French Suisse
[177]
SUR   ซูรินาม [178]
SVK   สโลวาเกีย [179]
SWE   สวีเดน
  • SVE (1956 W
  • 1960 S) from Italian Svezia
  • SUE (1968 S) from Spanish Suecia
[180]
SWZ   เอสวาตินี [181]
SYR   ซีเรีย SIR (1968) from Spanish Siria [182]
TAN   แทนซาเนีย [183]
TGA   ตองงา TON (1984) [184]
THA   ไทย [185]
TJK   ทาจิกิสถาน [186]
TKM   เติร์กเมนิสถาน [187]
TLS   ติมอร์-เลสเต current code taken from Timor Leste [188]
TOG   โตโก [189]
TPE   จีนไทเป[5]
[190]
TTO   ตรินิแดดและโตเบโก
  • TRT (1964–1968)
  • TRI (1972–2012)
[191]
TUN   ตูนิเซีย [192]
TUR   ตุรกี [193]
TUV   ตูวาลู [194]
UAE   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ [195]
UGA   ยูกันดา [196]
UKR   ยูเครน [197]
URU   อุรุกวัย URG (1968) [198]
USA   สหรัฐ
  • SUA (1960 S) from Italian Stati Uniti d'America
  • EUA (1968 S) from French États-Unis d'Amérique or Spanish Estados Unidos de América
[199]
UZB   อุซเบกิสถาน [200]
VAN   วานูวาตู [201]
VEN   เวเนซุเอลา [202]
VIE   เวียดนาม
  • VET (1964)
  • VNM (1968–1976)
[203]
VIN   เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ [204]
YEM   เยเมน [205]
ZAM   แซมเบีย NRH (1964) as Northern Rhodesia [206]
ZIM   ซิมบับเว RHO (1960–1972) as Rhodesia [207]

รหัสคณะกรรมการพาราลิมปิกปัจจุบัน

แก้

คณะกรรมการพาราลิมปิก (NPC) ส่วนใหญ่ใช้รหัสตามรหัสคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (NOC) ตามตารางด้านบน แต่มีเพียง 2 รหัสที่ไม่มีการรับรอง จึงใช้เฉพาะรหัสของคณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติ

รหัส ประเทศ/รัฐ/ดินแดน รหัสอื่นที่เคยใช้ อ้างอิง
MAC   มาเก๊า, China Associação Recreativa dos Deficientes de Macau
FRO   หมู่เกาะแฟโร The Faroese Sport Organisation for Disabled

รหัสประเทศและทีมในอดีต

แก้

รหัสที่ยังใช้อยู่

แก้

รหัสประเทศและทีมในอดีต 12 รหัสยังคงมีใช้อยู่ในฐานข้อมูลของคณะกรรมโอลิมปิกสากล [6] เพื่ออ้างถึงผู้ชนะและเหรียญรางวัลจากทีมเหล่านี้

รหัส ประเทศ/รัฐ/ดินแดน/ทีม รหัสอื่นที่เคยใช้
AHO   เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส AGR (1964), AGL (1968 S)
ANZ   ออสตราเลเชีย
BOH   โบฮีเมีย
BWI   อินเดียตะวันตก ANT (1960, 1968), WID (1964)
EUA   เยอรมนี GER (1956–1964)
EUN   ทีมรวม
FRG   เยอรมนีตะวันตก ALL (1968 W), ALE (1968 S), GER (1972–1976)
GDR   เยอรมนีตะวันออก ADE (1968)
RU1   จักรวรรดิรัสเซีย
SCG   เซอร์เบียและมอนเตเนโกร YUG (1996 S-2002 W)
TCH   เชโกสโลวาเกีย CSL (1956 W), CZE (1960 W), CSV (1960 S), CZS (1964 S), CHE (1968 S)
URS   สหภาพโซเวียต SOV (1968 W)
YUG   ยูโกสลาเวีย JUG (1956–1960, 1968 W), YUS (1964 S)
ZZX   ทีมผสม

รหัสที่เลิกใช้

แก้
รหัส ประเทศ/รัฐ/ดินแดน ช่วงปี หมายเหตุ
BIR   พม่า (เบอร์มา) 1948–1988 ปัจจุบันคือ   พม่า (MYA) (เมียนมาร์)
CEY   ซีลอน 1948–1972 ปัจจุบันคือ   ศรีลังกา (SRI)
DAH   ดาโฮมีย์ 1964–1976 ปัจจุบันคือ   เบนิน (BEN)
GUI   กายอานาของอังกฤษ 1948–1964 ปัจจุบันคือ   กายอานา (GUY)
The code former GUI has been reassigned to   กินี (GUI) in 1965 when its new NOC was recognized by the IOC and used publicly in their first competed games in 1968. All formerly known by BGU[4]
HBR   บริติชฮอนดูรัส 1968–1972 ปัจจุบันคือ   เบลีซ (BIZ)
IHO   หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์
code from French Indes orientales hollandaises
1934–1938 Now   อินโดนีเซีย (INA)
KHM   สาธารณรัฐเขมร 1972–1976 ปัจจุบันคือ   กัมพูชา (CAM)
MAL   มาลายา 1956–1960 เข้าแข่งขันเป็นรัฐอิสระก่อนรวมชาติเป็นมาเลเซียเมื่อ ค.ศ. 1963
ปัจจุบันคือ   มาเลเซีย (MAS)
NBO   บอร์เนียวเหนือ 1956
NRH   นอร์เทิร์นโรดีเชีย 1964 ปัจจุบันคือ   แซมเบีย (ZAM)
RAU   สหรัฐอาหรับ
code from French République arabe unie
1960 สมัยถัดไปใช้ UAR
ปัจจุบันคือ   อียิปต์ (EGY) และ   ซีเรีย (SYR)
RHO   โรดีเชีย 1960–1972 ปัจจุบันคือ   ซิมบับเว (ZIM)
ROC   ไต้หวัน 1932–1976 ปัจจุบันเข้าแข่งขันภายใต้ชื่อ   จีนไทเป (TPE)
SAA   ซาร์ 1952 เข้าแข่งขันเป็นรัฐอิสระก่อนรวมชาติเป็น   เยอรมนีตะวันตก เมื่อ ค.ศ. 1957
ปัจจุบันคือ   เยอรมนี (GER)
UAR   สหสาธารณรัฐอาหรับ 1964-1968 ปัจจุบันคือ   อียิปต์ (EGY) และ   ซีเรีย (SYR)
VOL   อัปเปอร์วอลตา 1972–1984 ปัจจุบันคือ   บูร์กินาฟาโซ (BUR)
YAR   เยเมนเหนือ
code from Yemen Arab Republic
1984–1988 เข้าแข่งขันเป็นรัฐอิสระก่อนรวมชาติเป็นเยเมนเมื่อ ค.ศ. 1990
ปัจจุบันคือ   เยเมน (YEM)
YMD   เยเมนใต้
code from Yemen Democratic Republic
1988
ZAI   ซาเอียร์ 1972–1996 ปัจจุบันคือ   สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (COD)

รหัสพิเศษสำหรับโอลิมปิก

แก้
รหัส ประเทศ/ทีม ปี ค.ศ. หมายเหตุ
AIN   นักกีฬาเป็นกลางรายบุคคล
ย่อมาจากฝรั่งเศส: Athlètes Individuels Neutres
2024 ใช้สำหรับนักกีฬาชาวรัสเซียและเบลารุสที่แข่งขันโดยเป็นกลางเนื่องจากการรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย
คณะผู้แทนจะใช้ธงและเพลงชาติที่กำหนดโดย IOC
ANZ   ออสตราเลเชีย 1908–1912 Used in the IOC's medal database[6] to identify the team from Australasia, composed of athletes from both Australia and New Zealand for the 1908 and 1912 Games. By 1920, both nations competed separately.
COR   เกาหลี
ย่อมาจากฝรั่งเศส: Corée
2018 Used for the unified Korean women's ice hockey team at the 2018 Winter Olympics. Also used when the delegations of the two Korean NOCs enter together during the opening ceremony.[7]
EOR   ทีมนักกีฬาผู้ลี้ภัย
ย่อมาจากฝรั่งเศส: Équipe olympique des réfugiés'
2020 Used for the IOC Refugee Olympic Team at the 2020 Summer Olympics for athletes to compete who have been displaced from their home countries.
The IOC code was changed from ROT which was used in 2016.
EUA   เยอรมนี
ย่อมาจากฝรั่งเศส: Équipe unifiée d'Allemagne
1956–1964 Used in the IOC's medal database[6] to identify the United Team of Germany, composed of athletes representing the NOCs of both East Germany and West Germany for the 1956–1964 Games. At the time, the team was simply known as Germany in the official reports for those six Games.
EUN   ทีมรวม
ย่อมาจากฝรั่งเศส: Équipe unifiée
1992 Used in 1992 (both Summer and Winter Games) for the Unified Team, composed of athletes from most of the ex-republics of the Soviet Union. Only the Baltic states were able to compete as independent teams in 1992; the other twelve new nations competed independently for the first time in 1994 and/or 1996.
IOP   ทีมอิสระ
  • 1992
  • 2014
Used for Independent Olympic Participants at the 1992 Summer Olympics as a designation used for athletes from FR Yugoslavia who could not compete as a team due to United Nations sanctions. At the 1992 Summer Olympics IOP was used as a designation for athletes from the Republic of Macedonia too. IOP was also used during the 2014 Winter Olympics in Sochi by Indian athletes due to the Indian Olympic Association suspension.
IOA   นักกีฬาอิสระ
  • 2000
  • 2012
  • 2016
Used for Individual Olympic Athletes in 2000,[8] a designation used for athletes from Timor-Leste prior to the formation of its NOC. IOA was used again in the 2012 Games, when it stood for Independent Olympic Athletes,[9] comprising athletes from the former Netherlands Antilles and a runner from South Sudan. The Netherlands Antilles Olympic Committee's membership from the IOC was withdrawn the previous year, and South Sudan has not formed an NOC. IOA was used again in 2016 for athletes from Kuwait as a result of the suspension of its National Olympic Committee.[10]
IOC   นักกีฬาจากคูเวต 2010–2012 Used as the country code for Athletes from Kuwait, when the Kuwait Olympic Committee was suspended the first time, at the 2010 Summer Youth Olympics, the 2010 Asian Games, the 2010 Asian Para Games and the 2011 Asian Winter Games; for the second suspension in 2015–2017, athletes from Kuwait were also competing in several international competitions under the IOC flag, but this time in the team of Individual Olympic Athletes (IOA), including (but not only) in the 2016 Summer Olympics.
MIX   ทีมผสม 2010– ใช้เป็นรหัสประเทศสำหรับ คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติผสมในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเยาวชน[11][12]
OAR   นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย 2018 Used for Olympic Athletes from Russia competing as neutral athletes due to the state-sponsored doping scandal.[13]
ROC   อาร์โอซี 2020 ใช้กับ นักกีฬาคณะกรรมการโอลิมปิกรัสเซีย (ROC) ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 เนื่องจากองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA) ได้สั่งห้ามรัสเซียแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติทุกประเภทเป็นเวลา 4 ปี[14]
ROT   นักกีฬาผู้ลี้ภัย 2016 Used for the Refugee Olympic Team at the 2016 Summer Olympics for athletes to compete who have been displaced from their home countries.[15]
ZZX   ทีมผสม 1896–1904 Used in the IOC's medal database[6] to identify medals won by mixed teams of athletes from multiple nations (such as the combination of France and Great Britain, for example), a situation that happened several times in the Games of 1896, 1900, and 1904.

รหัสพิเศษสำหรับพาราลิมปิก

แก้
รหัส ประเทศ/ทีม ปี หมายเหตุ
IPP   ทีมอิสระ 1992 Used for Independent Paralympic Participants at the 1992 Summer Paralympics as a designation used for athletes from FR Yugoslavia and Former Yugoslavian Republic of Macedonia who could not compete as a team due to United Nations sanctions.
IPA   นักกีฬาพาราลิมปิกบุคคล
  • 2000
De facto independent East Timor was not yet recognised as a sovereign state, and did not have a recognised National Paralympic Committee.Two athletes from the country gained the opportunity to in the 2000 Summer Paralympics in Sydney, but they competed officially as Individual Paralympic Athletes, rather than as representatives of an NPC.
IPA
API
  ทีมนักกีฬาผู้ลี้ภัย
  • 2016
A team consisting of refugee and asylee Paralympic athletes, competed at the 2016 Summer Paralympics in Rio de Janeiro . This acronym is the abbreviation of the team name in Brazilian Portuguese and this code is reserved for similar situations that may happen in the future.
NPA   นักกีฬาพาราลิมปิกที่เป็นกลาง 2018 Used for Neutral Paralympic Athletes competing as neutral athletes due to the state-sponsored doping scandal.
RPC ไฟล์:Russian Paralympic Committee special emblem (Tokyo 2020, Beijing 2022).jpg นักกีฬารัสเซีย 2020 ใช้กับนักกีฬาคณะกรรมการพาราลิมปิกรัสเซียในพาราลิมปิกฤดูร้อน 2020 เนื่องจากองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA) ได้สั่งห้ามรัสเซียแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติทุกประเภทเป็นเวลา 4 ปี
RPT   ทีมนักกีฬาผู้ลี้ภัย 2020

อ้างอิง

แก้
  1. Mallon, Bill; Karlsson, Ove (May 2004). "IOC and OCOG Abbreviations for NOCs" (PDF). Journal of Olympic History. 12 (2): 25–28. สืบค้นเมื่อ 2008-02-08.
  2. Faroe Islands เก็บถาวร 2012-12-04 ที่ archive.today
  3. Macau, China เก็บถาวร 2013-01-03 ที่ archive.today
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 4.10 http://iaaf-ebooks.s3.amazonaws.com/2015/Beijing-2015-Statistics-Handbook/projet/IAAF-World-Championships-Beijing-2015.pdf
  5. Official name given to the Republic of China for Olympic competition
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 "Olympic Medal Winners". International Olympic Committee. สืบค้นเมื่อ 2008-02-08.
  7. IOC. "Olympic Korean Peninsula Declaration" (PDF). สืบค้นเมื่อ 20 January 2018.
  8. "The Results" (PDF). la84foundation.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-09-27.
  9. "Independent Olympic Athletes". London2012.com. London 2012 Olympic and Paralympic Games. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-28.
  10. "Independent Olympic Athletes". Rio2016.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2016. สืบค้นเมื่อ 3 August 2016.
  11. "Mixed NOCs". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-25.
  12. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-12. สืบค้นเมื่อ 2019-12-11.
  13. "IOC suspends Russian NOC and creates a path for clean individual athletes to compete in PyeongChang 2018 under the Olympic Flag". 24 January 2018.
  14. [1] Russian team to be branded as 'ROC' during Tokyo Olympics as part of doping sanctions] Japan Times
  15. Rio2016.org, 3 June 2016 เก็บถาวร 2016-08-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน