พาราลิมปิกฤดูร้อน 2020

พาราลิมปิกฤดูร้อน 2020 (ญี่ปุ่น: 東京2020パラリンピック競技大会โรมาจิTōkyō Nizeronizero Pararinpikku Kyōgi Taikai) เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติสำหรับคนพิการซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม ถึง 5 กันยายน พ.ศ. 2564 ที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น[4] นับเป็นครั้งที่ 2 ที่โตเกียวเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อน ต่อจากครั้งแรกในปี พ.ศ. 2507 และโตเกียวเป็นเมืองแรกในประวัติศาสตร์พาราลิมปิกที่เป็นเจ้าภาพการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อนมากกว่าหนึ่งครั้ง

กีฬาพาราลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 16
เมืองเจ้าภาพโตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น
คำขวัญUnited by Emotion[a]
ประเทศเข้าร่วม162 (รวมทีมนักกีฬาผู้ลี้ภัย[2] และคณะกรรมการพาราลิมปิกรัสเซีย)[b]
นักกีฬาเข้าร่วม4,403[2]
ชนิด539 ประเภท ใน 22 ชนิด
พิธีเปิด24 สิงหาคม 2021
พิธีปิด5 กันยายน 2021
ประธานพิธีเปิด
ประธานพิธีปิดแอนดรูว์ พาร์สันส์
ประธานคณะกรรมการพาราลิมปิกสากล
ผู้จุดคบเพลิง
สนามกีฬากรีฑาสถานแห่งชาติญี่ปุ่น
ฤดูร้อน
ฤดูหนาว
โอลิมปิกฤดูร้อน 2020

เดิมกำหนดจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 25 สิงหาคม ถึง 5 กันยายน พ.ศ. 2563 แต่ถูกเลื่อนออกไปเป็นเวลา 1 ปี เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 แม้ว่าการแข่งขันจะจัดขึ้นในปี พ.ศ. 2564 แต่ยังคงเป็นชื่อเดิม คือ โตเกียว 2020 เพื่อวัตถุประสงค์ทางการตลาด นับเป็นครั้งแรกที่กีฬาพาราลิมปิกถูกเลื่อนออกไปและกำหนดเวลาใหม่

สัญลักษณ์

แก้

สัญลักษณ์ประจำการแข่งขัน

แก้

คำขวัญ

แก้

สัตว์นำโชค

แก้

เพลงประจำการแข่งขัน

แก้

การวิ่งคบเพลิง

แก้

สนามแข่งขัน

แก้

ชนิดกีฬาที่แข่งขัน

แก้

การแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกครั้งนี้ มีกีฬาที่จัดแข่งขันทั้งสิ้น 22 ชนิด โดยมีกีฬาที่ได้รับการบรรจุใหม่ในครั้งนี้เพิ่มอีก 2 ชนิดคือ กีฬาเรือแคนูและไตรกีฬา

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน

แก้

ณ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2564 มี 163 ประเทศที่นักกีฬาผ่านการคัดเลือกอย่างน้อย 1 คน และมี 5 ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันพาราลิมปิกครั้งแรก ได้แก่ ภูฏาน กายอานา ปารากวัย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ และเซาตูเมและปรินซิปี ในขณะที่หมู่เกาะโซโลมอนจะเข้าร่วมครั้งที่สองหลังจากพลาดการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อน 2016

คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติที่เข้าร่วมแข่งขัน
  1. ใช้เฉพาะภาษาอังกฤษ ไม่มีการใช้คำขวัญที่เทียบเท่าในภาษาญี่ปุ่น[1]
  2. Originally, each Russian athlete participated as an individual qualification, so such a special note corresponding to the nation is not an appropriate description.[3]
  3. นักกีฬาเป็นกลางจากรัสเซียแข่งขันภายใต้ธงของคณะกรรมการพาราลิมปิกรัสเซีย

จำนวนนักกีฬาตามคณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติ

แก้

ข้อมูลเมื่อ 8 กันยายน ค.ศ. 2019 (2019 -09-08):

สรุปเหรียญการแข่งขัน

แก้

  *  เจ้าภาพ (  ญี่ปุ่น)

สรุปเหรียญการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อน 2020
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  จีน966051207
2  สหราชอาณาจักร413845124
3  สหรัฐ373631104
4  นักกีฬารัสเซีย363349118
5  เนเธอร์แลนด์25171759
6  ยูเครน24472798
7  บราซิล22203072
8  ออสเตรเลีย21293080
9  อิตาลี14292669
10  อาเซอร์ไบจาน141419
11–86ประเทศที่เหลือ209230279718
รวม (86 ประเทศ)5395405891668

หมายเหตุ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "'United by Emotion' to be the Tokyo 2020 Games Motto". Tokyo2020.org. Tokyo Organising Committee of the Olympic and Paralympic Games.
  2. 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ numbers
  3. "What is the ROC? Why Russia Can't Compete At the Tokyo Olympics". TIME. 2021-07-26. สืบค้นเมื่อ 2021-09-07. under the International Olympic Committee's (IOC) rules, they're prohibited from displays of national representation in any form.
  4. "Tokyo Olympics and Paralympics: New dates confirmed for 2021". BBC Sport. 30 March 2020. สืบค้นเมื่อ 30 March 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
ก่อนหน้า พาราลิมปิกฤดูร้อน 2020 ถัดไป
รีโอเดจาเนโร   พาราลิมปิกฤดูร้อน
โตเกียว

(กีฬาพาราลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 16 (2020))
  ปารีส