ประเทศฮังการีในโอลิมปิก

ประเทศฮังการี เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกตั้งแต่การจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1896 และได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนส่วนใหญ่และกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวทุกรายการตั้งแต่นั้นมา ประเทศไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1920 เนื่องจากมีบทบาทในสงครามโลกครั้งที่ 1 และเป็นส่วนหนึ่งของการคว่ำบาตรที่นำโดยโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984

ประเทศฮังการี
ในโอลิมปิก
รหัสไอโอซีHUN
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกฮังการี
เว็บไซต์www.olimpia.hu (ในภาษาฮังการีและอังกฤษ)
เหรียญ
อันดับ 13
ทอง
189
เงิน
163
ทองแดง
188
รวม
540
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูร้อน
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูหนาว
การเข้าร่วมในนามของชาติอื่น
โอลิมปิกซ้อน 1906

นักกีฬาชาวฮังการีได้รับรางวัลทั้งหมด 511 เหรียญในการแข่งขันกีฬาฤดูร้อนและ 10 เหรียญในการแข่งขันกีฬาฤดูหนาว โดยกีฬาฟันดาบเป็นกีฬาที่สร้างเหรียญรางวัลสูงสุด ฮังการีได้รับรางวัลเหรียญโอลิมปิกฤดูร้อนมากกว่าประเทศอื่น ๆ ที่มีอยู่โดยที่ยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก และหลังจากแซงหน้าฟินแลนด์ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ก็เป็นประเทศที่มีจำนวนเหรียญทองสูงสุดต่อประชากร (ไม่นับไมโครสเตตที่มีประชากรน้อยกว่า 1 ล้านคน)[1]


คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของฮังการีคือ คณะกรรมการโอลิมปิกฮังการี ก่อตั้งและเป็นที่ยอมรับในปี ค.ศ. 1895

สรุปเหรียญรางวัล

แก้

โอลิมปิกฤดูร้อน

แก้
ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
  1896 เอเธนส์ 7 2 1 3 6 6
  1900 ปารีส 20 1 2 2 5 11
  1904 เซนต์หลุยส์ 4 2 1 1 4 5
  1908 ลอนดอน 63 3 4 2 9 6
  1912 สต็อกโฮล์ม 119 3 2 3 8 9
  1920 แอนต์เวิร์ป ไม่ได้เข้าร่วม
  1924 ปารีส 89 2 3 4 9 13
  1928 อัมสเตอร์ดัม 109 4 5 0 9 9
  1932 ลอสแอนเจลิส 58 6 4 5 15 6
  1936 เบอร์ลิน 216 10 1 5 16 3
  1948 ลอนดอน 129 10 5 12 27 4
  1952 เฮลซิงกิ 189 16 10 16 42 3
  1956 เมลเบิร์น 108 9 10 7 26 4
  1960 โรม 184 6 8 7 21 7
  1964 โตเกียว 182 10 7 5 22 6
  1968 เม็กซิโกซิตี 167 10 10 12 32 4
  1972 มิวนิก 232 6 13 16 35 8
  1976 มอนทรีออล 178 4 5 13 22 10
  1980 มอสโก 263 7 10 15 32 6
  1984 ลอสแอนเจลิส ถูกคว่ำบาตร
  1988 โซล 188 11 6 6 23 6
  1992 บาร์เซโลนา 217 11 12 7 30 8
  1996 แอตแลนตา 212 7 4 10 21 12
  2000 ซิดนีย์ 178 8 6 3 17 13
  2004 เอเธนส์ 209 8 6 3 17 12
  2008 ปักกิ่ง 171 3 5 2 10 21
  2012 ลอนดอน 159 8 4 6 18 10
  2016 รีโอเดจาเนโร 160 8 3 4 15 12
  2020 โตเกียว 166 6 7 7 20 15
  2024 ปารีส 178 6 7 6 10 14
  2028 ลอสแอนเจลิส อนาคต
  2032 บริสเบน
รวม 187 161 182 530 9

โอลิมปิกฤดูหนาว

แก้
ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
  1924 ชามอนี 4 0 0 0 0
  1928 ซังคท์โมริทซ์ 13 0 0 0 0
  1932 เลกพลาซิด 4 0 0 1 1 10
  1936 การ์มิช-พาร์เทินเคียร์เชิน 25 0 0 1 1 10
  1948 ซังคท์โมริทซ์ 22 0 1 0 1 11
  1952 ออสโล 12 0 0 1 1 12
  1956 กอร์ตีนาดัมเปซโซ 2 0 0 1 1 12
  1960 สควอว์วัลเลย์ 3 0 0 0 0
  1964 อินส์บรุค 28 0 0 0 0
  1968 เกรอนอบล์ 10 0 0 0 0
  1972 ซัปโปโระ 1 0 0 0 0
  1976 อินส์บรุค 3 0 0 0 0
  1980 เลกแพลซิด 2 0 1 0 1 15
  1984 ซาราเยโว 9 0 0 0 0
  1988 แคลกะรี 0 0 0 0 0
  1992 อัลแบร์วิล 24 0 0 0 0
  1994 ลิลเลอฮาเมอร์ 16 0 0 0 0
  1998 นางาโนะ 17 0 0 0 0
  2002 ซอลต์เลกซิตี 25 0 0 0 0
  2006 ตูริน 19 0 0 0 0
  2010 แวนคูเวอร์ 10 0 0 0 0
  2014 โซชี 16 0 0 0 0
  2018 พย็องชัง 19 1 0 0 1 21
  2022 ปักกิ่ง 10 1 0 2 3 20
  2026 มิลาน/กอร์ตีนา อนาคต
  2030 เฟรนช์แอลป์
รวม 2 2 6 10 34

อ้างอิง

แก้
  1. "Most Successful Countries of All-Time: Per Capita". สืบค้นเมื่อ 17 August 2021.

ดูเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้