รอยัลจอร์แดเนียน

สายการบินแห่งชาติของประเทศจอร์แดน

รอยัลจอร์แดเนียนแอร์ไลน์ (อาหรับ: الملكية الأردنية) หรือชื่อเดิม อาลียารอยัลจอร์แดเนียนแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติและสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจอร์แดน โดยมีฐานการบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติสมเด็จพระราชินีอาลียาในอัมมาน รอยัลจอร์แดเนียนให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 56 แห่งในตะวันออกกลาง เอเชีย ยุโรป แอฟริกา และอเมริกาเหนือ รอยัลจอร์แดเนียนเป็นสมาชิกของกลุ่มพันธมิตรสายการบินวันเวิลด์และองค์การสายการบินอาหรับ[5]

รอยัลจอร์แดเนียน
الملكيَّة الأردنيَّة
IATA ICAO รหัสเรียก
RJ RJA JORDANIAN
ก่อตั้ง9 ธันวาคม ค.ศ. 1963 (60 ปี) (ในชื่อ อาลียารอยัลจอร์แดเนียน)
ท่าหลักอัมมาน
เมืองสำคัญอัลอะเกาะบะฮ์
สะสมไมล์รอยัลคลับ[1]
พันธมิตรการบินวันเวิลด์
ขนาดฝูงบิน28
จุดหมาย56[2]
สำนักงานใหญ่จอร์แดน อัมมาน, ประเทศจอร์แดน
บุคลากรหลักSamer Majali (ผู้จัดการใหญ่และซีอีโอ)[3]
Saeed Darwazeh (ประธาน)[4]
เว็บไซต์www.rj.com

กิจการองค์กร แก้

สำนักงานใหญ่ แก้

ในปี 2009 รอยัลจอร์แดเนียนได้ว่าจ้างให้บริษัท Haddadinco Engineering Company for Contracting สร้างสำนักงานใหญ่แห่งใหม่ในอัมมาน[6] โดยตัวอาคารได้รับการออกแบบโดยนีลส์ ทอร์ป[7] อาคารใหม่แล้วเสร็จในปลายปี 2011 และได้เริ่มการปฏิบัติการณ์เมื่อวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 2012

ผลประกอบการ แก้

ผลประกอบการของรอยัลจอร์แดเนียน ในช่วงปี 2002-2022 มีดังนี้:

2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
รายได้ (ล้านดีนาร์จอร์แดน) 1.1 −38.8 −39.6 16.0 −24.5 0.27 −5.8 10.3 −161 −74.2 −78.8
จำนวนพนักงาน (คน) 4,541 4,643 4,543 4,394 4,185 4,135 4,054 4,018 3,599 3,437 3,913
จำนวนผู้โดยสาร (ล้านคน) 3.3 3.3 3.2 2.9 3.0 3.1 3.2 3.3 0.75 1.6 3.0
อัตราการบรรทุกผู้โดยสาร (%) 73 70 70 67 65 71 73.8 74.2 65.4 67.9 77
จำนวนอากาศยาน (ณ สิ้นปี) 29 32 28 27 26 26 26 27 23 24 27
หมายเหตุ/อ้างอิง [8] [8] [9] [10] [11]

จุดหมายปลายทาง แก้

ข้อตกลงการบินร่วม แก้

ณ เดือนธันวาคม ค.ศ. 2023 รอยัลจอร์แดเนียนได้มีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:[12]

ฝูงบิน แก้

ฝูงบินปัจจุบัน แก้

 
แอร์บัส เอ319-100 ของรอยัลจอร์แดเนียน
 
แอร์บัส เอ321-200 ของรอยัลจอร์แดเนียน
 
โบอิง 787-8 ของรอยัลจอร์แดเนียน

ณ เดือนมกราคม ค.ศ. 2024 รอยัลรอ์แดเนียนมีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้:[13]

ฝูงบินของรอยัลจอร์แดเนียน
เครื่องบิน ประจำการ คำสั่งซื้อ ผู้โดยสาร หมายเหตุ
C Y รวม
แอร์บัส เอ319-100 5 12 108 120 หนึ่งลำสวมลวดลายวันเวิลด์ (JY-AYP)[14]
แอร์บัส เอ320-200 9 16 120 136 [14]
12 138 150
180 180
แอร์บัส เอ321-200 2 20 148 168 หนึ่งลำสวมลวดลายย้อนยุค (JY-AYV)[14]
โบอิง 787-8 7 24 246 270[15] หนึ่งลำสวมลวดลาย ดิสคอฟเวอร์เปตรา (JY-BAH)
โบอิง 787-9 6[16] รอประกาศ
เอ็มบราเออร์ อี175 2 12 60 72[17]
เอ็มบราเออร์ อี195 2 12 88 100[18]
เอ็มบราเออร์ อี190-อี2 4 12 80 92 เริ่มส่งมอบในปลายปี 2023[19]
เอ็มบราเออร์ อี195-อี2 2 2 12 108 120
ฝูงบินของรอยัลจอร์แดเนียนคาร์โก
แอร์บัส เอ310-300F 1 สินค้า
รวม 30 12

รอยัลจอร์แดเนียนมีอายุฝูงบินเฉลี่ย 12.5 ปี

ฝูงบินในอดีต แก้

รอยัลจอร์แดเนียนเคยให้บริการเครื่องบินดังต่อไปนี้:[20]

ฝูงบินในอดีตของรอยัลจอร์แดเนียน
เครื่องบิน จำนวน เริ่มประจำการ ปลดประจำการ หมายเหตุ
แอร์บัส เอ310-200 2 1999 2000
แอร์บัส เอ310-300 11 1987 2012
แอร์บัส เอ330-200 3 2010 2017
แอร์บัส เอ340-200 4 2002 2014
โบอิง 707-320ซี 14 1976 1996
โบอิง 720บี 2 1972 1983
โบอิง 727-200 7 1974 1990 JY-ADU ถูกนำออกจากประจำการในเที่ยวบินที่ 600
โบอิง 747-200 2 1977 1989
บอมบาร์ดิเอร์ คิว400[21][22][23] 2 2005 2008
ดักลาส ดีซี-6 1 1966 1972
ดักลาส ดีซี-7 21 1963 1967
ฟอกเกอร์ เอฟ-27 2 1967 1969
ฟอกเกอร์ เอฟ-28 1 2000 2007
แฮนลีย์ เพจ ดาร์ท เฮรัลด์ 2 1964 1965
ล็อคฮีด แอล-1011-500 ไตรสตาร์ 5 1981 1999
ซูว์ดาวียาซียงการาแวล 10บี 3 1965 1975
วิกเกอร์ส ไวเคานท์ 5 1961 1967

อ้างอิง แก้

  1. "Arabian Aerospace – Royal Jordanian launch all new frequent flyer programme". www.arabianaerospace.aero.
  2. "Royal Jordanian on ch-aviation". ch-aviation (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-12-02.
  3. "Samer Majali designated to assume the role of RJS President CEO - Royal Jordanian".
  4. "Royal Jordanian CEO Pichler Is Said to Have Resigned Last Month". Bloomberg. 8 October 2020. สืบค้นเมื่อ 11 November 2020.
  5. "Royal Jordanian - oneworld Member Airline". www.oneworld.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-01-20.
  6. "RJ News" เก็บถาวร 2012-02-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Royal Jordanian. 24 November 2009. Retrieved on 13 December 2009.
  7. "Niels Torp: airline headquarters, Amman, Jordan.(Work)(Royal Jordanian Airlines has new corporate headquarters)". Architectural Review. 1 January 2007. Retrieved on 13 February 2010.
  8. 8.0 8.1 "RJ AR 2013" (PDF). RJ.
  9. "RJ AR 2014" (PDF). RJ.
  10. "RJ Annual Report 2015" (PDF). RJ.
  11. "RJ Annual Report 2016" (PDF). RJ.
  12. "Codeshare Flights - Royal Jordanian". rj.com. สืบค้นเมื่อ 2022-01-30.
  13. "Royal Jordanian Fleet Details and History". Planespotters.net (ภาษาอังกฤษ). 2023-12-02.
  14. 14.0 14.1 14.2 "Royal Jordanian Fleet Details and History". www.planespotters.net. Jan 16, 2023. สืบค้นเมื่อ 2023-01-16.
  15. "Boeing 787 Dreamliner". rj.com. Royal Jordanian Airlines. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-04. สืบค้นเมื่อ 19 November 2016.
  16. "Royal Jordanian Grows its Long-Haul Fleet With Order for Boeing 787-9 Dreamliners". Boeing Media Room. 13 November 2023.
  17. "Embraer 175". rj.com. Royal Jordanian Airlines. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-04. สืบค้นเมื่อ 19 November 2016.
  18. "Embraer 195". rj.com. Royal Jordanian Airlines. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-04. สืบค้นเมื่อ 19 November 2016.
  19. "Embraer and Azorra Seal Deal with Royal Jordanian Airlines for Eight New E2 Jets". PRNewswire. May 18, 2023. สืบค้นเมื่อ May 18, 2023.
  20. Klee, Ulrich & Bucher, Frank et al.: jp airline-fleets international. Zürich-Airport 1967–2007.
  21. "Royal Jordanian Airlines First To Operate Bombardier Q400 In Middle East – Bombardier". www.bombardier.com. สืบค้นเมื่อ 25 May 2018.
  22. "S2-AGV US-Bangla Airlines De Havilland Canada DHC-8-400". www.planespotters.net. สืบค้นเมื่อ 25 May 2018.
  23. "S2-AGU US-Bangla Airlines De Havilland Canada DHC-8-400". www.planespotters.net. สืบค้นเมื่อ 25 May 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้