ท่าอากาศยานนานาชาติแดเนียล เค. อิโนเอ

ท่าอากาศยานนานาชาติแดเนียล เค. อิโนเอ (อังกฤษ: Daniel K. Inouye International Airport[3] (IATA: HNLICAO: PHNLFAA LID: HNL)) รู้จักกันอีกชื่อว่า ท่าอากาศยานนานาชาติโฮโนลูลู (Honolulu International Airport) เป็นทางผ่านการบินหลักของเมืองและเคาน์ตีโฮโนลูลูบนเกาะโออาฮูในรัฐฮาวาย[4] ท่าอากาศยานนี้ได้ชื่อมาจากวุฒิสมาชิกและผู้รับรางวัลมีเดล ออฟ ฮอนเนอร์ชาวสหรัฐ แดเนียล เค. อิโนเอ ท่าอากาศยานตั้งอยู่ในโฮโนลูลู สามไมล์ (5 กิโลเมตร) ทางตะวันตกเฉียงเหนือของย่านศูนย์กลางธุรกิจของตัวเมือง[2][5] ท่าอากาศยานกินพื้นที่ 4,220 เอเคอร์ (1,708 เฮกตาร์) กินพื้นที่เกาะโออาฮูมากกว่า 1%[2]

ท่าอากาศยานนานาชาติแดเนียล เค. อิโนเอ

Kahua Mokulele Kauʻāina o Daniel K. Inouye
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ / ทหาร
เจ้าของรัฐฮาวาย / กองทัพเรือสหรัฐ
ผู้ดำเนินงานกระทรวงคมนาคมสหรัฐ
พื้นที่บริการโฮโนลูลู, เกาะโออาฮู
สถานที่ตั้งโฮโนลูลู, รัฐฮาวาย, ประเทศสหรัฐ
ฐานการบิน
ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล4 เมตร / 13 ฟุต
พิกัด21°19′07″N 157°55′21″W / 21.31861°N 157.92250°W / 21.31861; -157.92250
เว็บไซต์airports.hawaii.gov/hnl
แผนที่ท่าอากาศยาน FAA
แผนที่ท่าอากาศยาน FAA
ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Location_map บรรทัดที่ 522: Unable to find the specified location map definition: "Module:Location map/data/United States Oahu" does not exist
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
4L/22R 2,120 6,955 ยางมะตอย
4R/22L 2,744 9,002 ยางมะตอย
4W/22W 914 3,000 น้ำ
8L/26R 3,753 12,312 ยางมะตอย
8R/26L 3,658 12,000 ยางมะตอย
8W/26W 1,551 5,090 น้ำ
สถิติ (2020)
การเดินอากาศ186,631
ผู้โดยสารรวม6,656,825
การขนส่งสินค้ารวม (เมตริกตัน)78,983
ข้อมูล: ACI[1][2]

ท่าอากาศยานนานาชาติแดเนียล เค. อิโนเอบริการสายการบินไปยังจุดหมายในทวีปอเมริกาเหนือ เอเชีย และโอเชียเนีย ทำหน้าที่ฮับหลักของฮาวายเอียนแอร์ไลน์และฐานของอะโลฮาแอร์คาร์โก ท่าอากาศยานถูกบรรจุในองค์การบริหารการบินแห่งชาติ (FAA) ใน ค.ศ. 2017–2021 ซึ่งถูกจัดให้เป็นฮับหลักขนาดใหญ่ที่เป็นสถานบริการเชิงพาณิชย์[6]

อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน แก้

อาคารผู้โดยสารสายการบินท้องถิ่น แก้

ล็อบบี 1 แก้

อาคารผู้โดยสารสายการบินหลัก แก้

ล็อบบี 2 แก้

ล็อบบี 3 แก้

อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ แก้

ล็อบบี 4 แก้

ล็อบบี 5 แก้

ล็อบบี 6 แก้

ล็อบบี 7 แก้

ล็อบบี 8 แก้

การจราจรและสถิติ แก้

การจราจรรายปี แก้

การจราจรรายปี (ขาขึ้น + ขาลง) ที่ HNL, ค.ศ. 1991–ปัจจุบัน[7][8][9][10]
ปี ผู้โดยสาร ปี ผู้โดยสาร ปี ผู้โดยสาร
1991 22,224,594 2001 20,151,935 2011 17,991,497
1992 22,608,188 2002 19,749,902 2012 19,291,412
1993 22,061,953 2003 18,690,888 2013 19,776,751
1994 22,995,976 2004 19,334,674 2014 19,972,910
1995 23,672,894 2005 20,179,634 2015 19,869,707
1996 24,326,737 2006 20,266,686 2016 19,950,125
1997 23,880,346 2007 21,517,476 2017 21,232,359
1998 22,636,354 2008 18,809,103 2018 21,145,521
1999 22,560,399 2009 18,171,937 2019 21,870,691
2000 23,027,674 2010 18,443,873 2020 6,656,825

อ้างอิง แก้

  1. "Data". Aci-na.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 28, 2016. สืบค้นเมื่อ January 9, 2017.
  2. 2.0 2.1 2.2 FAA Airport Master Record for HNL (Form 5010 PDF), effective December 20, 2007
  3. Staff, Web (April 29, 2017). "Honolulu airport renamed after late Sen. Daniel Inouye". Khon2.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 17, 2017. สืบค้นเมื่อ May 20, 2017.
  4. "The State of Hawaii Airport Activity Statistics By Year 2007-1994" เก็บถาวร มิถุนายน 26, 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Department of Transportation, Airports Division, State of Hawaii
  5. "Honolulu CDP, HI เก็บถาวร กุมภาพันธ์ 18, 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน." U.S. Census Bureau. Retrieved on May 21, 2009.
  6. "List of NPIAS Airports" (PDF). FAA.gov. Federal Aviation Administration. 21 October 2016. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ May 3, 2017. สืบค้นเมื่อ 23 December 2016.
  7. "Passengers Interisland & Overseas". Hawaii.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 2, 2015. สืบค้นเมื่อ March 29, 2015.
  8. "Airport Activity Statistics by Calendar Year. Retrieved on March 29, 2015" (PDF). Hawaii.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ July 31, 2017. สืบค้นเมื่อ May 20, 2017.
  9. "Airport Traffic Reports". Aci-na.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 1, 2013. สืบค้นเมื่อ March 29, 2015.
  10. "Airport Activity Statistics by Calendar Year" (PDF). สืบค้นเมื่อ September 1, 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้