ฟุตบอลทีมชาติตุรกี

(เปลี่ยนทางจาก Turkey national football team)

ฟุตบอลทีมชาติตุรกี (ตุรกี: Türkiye Millî Futbol Takımı) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศตุรกี อยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลตุรกี ซึ่งเป็นสมาชิกของสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป หัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือ วินเชนโซ มอนเตลลา

ตุรกี
Shirt badge/Association crest
ฉายาAy Yıldızlar (พระจันทร์เสี้ยวดาว)
ไก่งวง (ฉายาในประเทศไทย[1])
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลตุรกี
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนวินเชนโซ มอนเตลลา
กัปตันEmre Belözoğlu
ติดทีมชาติสูงสุดรุสตู เรคเบอร์ (120)
ทำประตูสูงสุดฮาคาน ซูเคอร์ (51)
รหัสฟีฟ่าTUR
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 42 ลดลง 2 (20 มิถุนายน 2024)[2]
อันดับสูงสุด5 (มิถุนายน 2004)
อันดับต่ำสุด67 (ตุลาคม 1993)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ตุรกี ตุรกี 2–2 โรมาเนีย ธงชาติโรมาเนีย
(อิสตันบูล ตุรกี; 26 ตุลาคม 1923)
ชนะสูงสุด
ตุรกี ตุรกี 7–0 ซีเรีย ธงชาติซีเรีย
(อังการา ตุรกี; 20 พฤศจิกายน 1949)
ตุรกี ตุรกี 7–0 เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้
(เจนีวา สวิตเซอร์แลนด์; 20 มิถุนายน 1954)
ตุรกี ตุรกี 7–0 ซานมารีโน ธงชาติซานมารีโน
(อิสตันบูล ตุรกี; 10 พฤศจิกายน 1996)
แพ้สูงสุด
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 8–0 ตุรกี ตุรกี
(คอร์ซอว์ โปแลนด์; 24 เมษายน 1968)
ตุรกี Turkey 0–8 อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ
(อิสตันบูล ตุรกี; 14 พฤศจิกายน 1984)
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 8–0 ตุรกี ตุรกี
(ลอนดอน แคว้นอังกฤษ; 14 ตุลาคม 1987)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 1954)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 3 (2002)
ชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม5 (ครั้งแรกใน 1996)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 3 (2008)
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าร่วม6 (ครั้งแรกใน 1924)
ผลงานดีที่สุดรอบก่อนรองชนะเลิศ (1948, 1952)
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2003)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 3 (2003)

ตุรกีเข้าสู่รอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 2 ครั้ง ในปี 1954 และ 2002 ทั้งนี้ ไม่นับรวมปี 1950 ซึ่งทีมได้ถอนตัวออกจากการแข่งขัน นอกจากนั้น ตุรกียังเข้าสู่รอบสุดท้ายของฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปในปี 1996, 2000 และ 2008 ทีมเข้าสู่รอบรองชนะเลิศในการแข่งขันใหญ่ ๆ ทั้ง 3 รายการ ได้แก่ ฟุตบอลโลก 2002 (จบอันดับที่ 3), ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 (จบอันดับที่ 3) และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008[3]

ประวัติ

แก้

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016

แก้
 
ผู้เล่นฟุตบอลทีมชาติตุรกีใน ค.ศ. 2016

ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 หรือยูโร 2016 ที่ฝรั่งเศส ตุรกีได้ผ่านเข้าไปแข่งขันด้วยโดยผ่านเข้ามาในรอบคัดเลือกรอบสุดท้าย เพราะในการแข่งขันครั้งนี้สหพันธ์ฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) เพิ่มทีมเข้ารอบสุดท้ายจาก 16 ทีม เป็น 24 ทีม ตุรกีจึงได้ผ่านเข้ามาเล่นได้ในที่สุด โดยในรอบสุดท้ายตุรกีอยู่ในกลุ่มดี ร่วมกับ โครเอเชีย, สเปน และสาธารณรัฐเช็ก[3]

โดยผลการแข่งขัน ปรากฏว่าตุรกีได้อันดับ 3 จากการแพ้ 2 และชนะ 1 ซึ่งตามกติกาใหม่ที่ใช้ในคราวนี้ ให้กำหนดให้ทีมที่ได้อันดับ 3 ทั้งหมดจาก 6 กลุ่มทั้งหมด ที่มีผลต่างของประตูได้เสียดีที่สุด 4 ทีมผ่านเข้าไปสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นรอบของการแพ้คัดออกได้ ปรากฏว่าผลต่างของตุรกียังสู้ทีมอื่นไม่ได้ จึงต้องตกรอบไปในที่สุด[4]


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   โครเอเชีย 3 2 1 0 5 3 +2 7 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   สเปน 3 2 0 1 5 2 +3 6
3   ตุรกี 3 1 0 2 2 4 −2 3
4   เช็กเกีย 3 0 1 2 2 5 −3 1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม

ชุดแข่งขัน

แก้

ปัจจุบัน ตุรกีได้ใช้ชุดแข่งขันของไนกี้มาตั้งแต่ ค.ศ. 2003 โดยก่อนหน้านั้น พวกเขาใช้ชุดของอดิดาส

เหย้า

 
 
 
 
 
 
1923-1963
 
 
 
 
 
 
1963-1993
 
 
 
 
 
 
 
 
1996-1998
ยูโร 1996
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1998-2000
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2000-2002
ยูโร 2000
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2002-2003
ฟุตบอลโลก 2002
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2003-2004
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2004-2005
 
 
 
 
 
 
 
2005-2008
 
 
 
 
 
 
2008-2010
ยูโร 2008
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2010-2012
 
 
 
 
 
 
2012-2016
 
 
 
 
 
 
 
 
2016-2018
ยูโร 2016

เยือน

 
 
 
 
 
 
 
 
 
1996-1998
ยูโร 1996
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1998-2000
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2000-2002
ยูโร 2000
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2002-2003
ยูโร 2002
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2003
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2004-2005
 
 
 
 
 
 
2006-2008
 
 
 
 
 
 
2008-2010
ยูโร 2008
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2010-2012
 
 
 
 
 
 
2012-2016
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2016-2018
ยูโร 2016

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

แก้

รายชื่อผู้เล่นสำหรับการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024 ที่ประเทศเยอรมนี ประกาศรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้น 35 คน ในวันที่ 24 พฤษภาคม[5] ต่อมาในวันที่ 29 พฤษภาคม ผู้เล่นในรายชื่อลดเหลือ 33 คน หลังจากที่แบร์ทู ยึลดือรึม ถูกเรียกตัวติดทีมชาติรุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี[6] และชาลาร์ เซอยึนจือ ถอนตัวเนื่องจากอาการบาดเจ็บ[7] ในวันที่ 1 มิถุนายน เอเนส อือนัล ถอนตัวเนื่องจากอาการบาดเจ็บเช่นกัน[8] ในวันที่ 5 มิถุนายน โอซัน คาบัค ก็ถอนตัวออกจากรายชื่อเบื้องต้นเนื่องจากอาการบาดเจ็บที่หัวเข่า[9] และในวันที่ 7 มิถุนายน ได้มีการประกาศรายชื่อผู้เล่นรอบสุดท้าย 26 คน โดยไม่มีอับดึลคาดีร์ เออมือร์, แจงค์ เอิซคาจาร์, เบรัท เอิซเดมีร์, โออุซ อัยดึน, จัน อูซุน และโดอัน อาแลมดาร์ อยู่ในรายชื่อ และแบร์ทู ยึลดือรึม ถูกเรียกตัวกลับมาอีกครั้ง[10]

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK แมร์ท กือน็อค 1 มีนาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 35 ปี) 28 0   เบชิกทัช
2 2DF เซคี เชลิค 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 (อายุ 27 ปี) 45 2   โรมา
3 2DF เมรีฮ์ เดมีรัล 5 มีนาคม ค.ศ. 1998 (อายุ 26 ปี) 43 2   อัลอะฮ์ลี
4 2DF ซาเมท อาคัยดิน 13 มีนาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 30 ปี) 5 0   ปานาซีไนโกส
5 3MF โอคัย โยคุชลู 9 มีนาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 30 ปี) 39 1   เวสต์บรอมมิชอัลเบียน
6 3MF ออร์คุน เคิกชือ 29 ธันวาคม ค.ศ. 2000 (อายุ 23 ปี) 27 2   ไบฟีกา
7 4FW เคแรม อักทือร์โคลู 21 ตุลาคม ค.ศ. 1998 (อายุ 25 ปี) 28 5   กาลาทาซาไร
8 3MF อาร์ดา กือแลร์ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005 (อายุ 19 ปี) 6 1   เรอัลมาดริด
9 4FW แจงค์ โทซุน 7 มิถุนายน ค.ศ. 1991 (อายุ 33 ปี) 50 20   เบชิกทัช
10 3MF ฮาคัน ชัลฮาโนลู (กัปตัน) 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 (อายุ 30 ปี) 85 18   อินแตร์นาซีโอนาเล
11 4FW ยูซุฟ ยาซือจือ 29 มกราคม ค.ศ. 1997 (อายุ 27 ปี) 43 3   ลีล
12 1GK อัลทัย บายึนดือร์ 14 เมษายน ค.ศ. 1998 (อายุ 26 ปี) 9 0   แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
13 2DF อาฮ์เมตจัน คัปลัน 16 มกราคม ค.ศ. 2003 (อายุ 21 ปี) 0 0   อายักซ์
14 2DF อับดึลเคริม บาร์ดักจือ 7 กันยายน ค.ศ. 1994 (อายุ 29 ปี) 7 1   กาลาทาซาไร
15 3MF ซาลีฮ์ เอิซจัน 11 มกราคม ค.ศ. 1998 (อายุ 26 ปี) 17 0   โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
16 3MF อิสมาอิล ยึกเซค 26 มกราคม ค.ศ. 1999 (อายุ 25 ปี) 14 1   เฟแนร์บาห์แช
17 4FW อีร์ฟัน คาฮ์เวจี 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 28 ปี) 31 2   เฟแนร์บาห์แช
18 2DF แมร์ท มึลดือร์ 3 เมษายน ค.ศ. 1999 (อายุ 25 ปี) 23 1   เฟแนร์บาห์แช
19 4FW เคนัน ยึลดึซ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 2005 (อายุ 19 ปี) 6 1   ยูเวนตุส
20 2DF แฟร์ดี คาดือโอลู 7 ตุลาคม ค.ศ. 1999 (อายุ 24 ปี) 15 1   เฟแนร์บาห์แช
21 4FW บารึช อัลแพร์ ยึลมัซ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 (อายุ 24 ปี) 14 1   กาลาทาซาไร
22 3MF คาอัน อัยฮัน 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1994 (อายุ 29 ปี) 57 5   กาลาทาซาไร
23 1GK อูร์จัน ชาคือร์ 5 เมษายน ค.ศ. 1996 (อายุ 28 ปี) 27 0   ทรับซอนสปอร์
24 4FW เซมีฮ์ คือลึชซอย 15 สิงหาคม ค.ศ. 2005 (อายุ 18 ปี) 1 0   เบชิกทัช
25 4FW ยูนุส อักกึน 7 กรกฎาคม ค.ศ. 2000 (อายุ 23 ปี) 9 2   เลสเตอร์ซิตี
26 4FW แบร์ทู ยึลดือรึม 12 มกราคม ค.ศ. 2002 (อายุ 22 ปี) 3 2   แรน

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "สิงโตจัดวาร์ดี้ผนึกเคนลงดวลเกือกไก่งวงเกมอุ่นเครื่อง". สยามกีฬา. 22 May 2016. สืบค้นเมื่อ 31 May 2016.
  2. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
  3. 3.0 3.1 "หน้าหลัก รายชื่อทีม ตุรกี". เดลินิวส์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-22. สืบค้นเมื่อ 23 June 2016.
  4. "โปรแกรมยูโร 2016 รอบ 16 ทีมสุดท้าย". ฐานเศรษฐกิจ. 23 June 2016. สืบค้นเมื่อ 23 June 2016.
  5. "A Millî Takımımızın EURO 2024 Geniş Kadrosu Açıklandı" [EURO 2024 squad of our national team announced] (ภาษาตุรกี). Turkish Football Federation. 24 May 2024. สืบค้นเมื่อ 30 May 2024.
  6. "Enes Ünal Aday Kadrodan Çıkarıldı" [Bertuğ Yıldırım Switched to the U-21 National Team] (ภาษาตุรกี). Turkish Football Federation. 29 May 2024. สืบค้นเมื่อ 1 June 2024.
  7. "Çağlar Söyüncü, A Millî Takım Aday Kadrosundan Çıkarıldı" [Çağlar Söyüncü was removed from the National Team Candidate Squad] (ภาษาตุรกี). Turkish Football Federation. 29 May 2024. สืบค้นเมื่อ 1 June 2024.
  8. "Enes Ünal Aday Kadrodan Çıkarıldı" [Enes Ünal was removed from the preliminary squad] (ภาษาตุรกี). Turkish Football Federation. 1 June 2024. สืบค้นเมื่อ 1 June 2024.
  9. "Ozan Kabak'ın Sağlık Durumu Hakkında Bilgilendirme - A Milli Takım Haber Detayları TFF". www.tff.org (ภาษาตุรกี). Turkish Football Federation. สืบค้นเมื่อ 5 June 2024.
  10. "A Millî Takımımızın EURO 2024 Aday Kadrosu Açıklandı" [EURO 2024 Candidate Squad of Our National Team Announced] (ภาษาตุรกี). Turkish Football Federation. 7 June 2024. สืบค้นเมื่อ 7 June 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้