วิกิพีเดีย:โครงการวิกิการทหาร/แนวทางการเขียนบทความ

แนวทางการเขียนบทความของโครงการวิกิการทหารตั้งใจให้การแนะนำว่าด้วยเนื้อหาและโครงสร้างบทความในขอบเขตของโครงการ คุณสามารถขอเพิ่มเติมได้ที่หน้าอภิปราย แลพึงระลึกไว้เสมอว่า แนวทางการเขียนบทความนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ทุกเมื่อ

การตั้งชื่อบทความ

แก้

เหตุการณ์

แก้

ชื่อของบทความควรเป็นชื่อที่ใช้เรียกเหตุการณ์นั้นมากที่สุด (อย่างเช่น ยุทธนาวีเกาะช้างหรือสมรภูมิบ้านร่มเกล้า) หากไม่มีชื่อสามัญ ชื่อควรเป็นคำที่อธิบายภูมิศาสตร์ เช่น "ยุทธการ ก" หรือ "การล้อม ข" เมื่อ ก และ ข เป็นที่ตั้งของการปฏิบัติ คำที่ไม่เป็นกลางอย่าง "การโจมตี" "การสังหารหมู่" หรือ "การตีโฉบฉวย" พึงใช้ด้วยความระมัดระวัง

หากเกิดความกำกวม อาจเพิ่มปีในเครื่องหมายวงเล็บ (เช่น ยุทธการไซ่ง่อน (พ.ศ. 2511)) ยุทธการที่เกิดขึ้นในที่เดียวกันในปีเดียวกันควรตั้งชื่อว่า "ครั้งที่หนึ่ง" "ครั้งที่สอง" ไปเรื่อย ๆ หรือ อาจใช้ชื่อเดือนที่เกิดยุทธการในการแก้ความกำกวม ตามการใช้ในแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ

ชื่อรหัสปฏิบัติการ

ชื่อรหัสปฏิบัติการโดยทั่วไปเป็นชื่อเรื่องที่ไม่ดีนัก เพราะชื่อรหัสมิได้บ่งชี้เลยว่าการปฏิบัตินั้นเกิดขึ้นเมื่อใดหรือที่ใด และแสดงเพียงการวางแผนของฝ่ายหนึ่งเท่านั้น (ซึ่งอาจเป็นเหตุให้บทความมุ่งประเด็นไปยังมุมมองของฝ่ายนั้น) เป็นการดีกว่าที่จะใช้ชื่อทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับบทความ โดยสร้างหน้าเปลี่ยนทางจากชื่อปฏิบัติการ ยกเว้นปฏิบัติการที่เป็นที่รู้จักกันดี (เช่น ปฏิบัติการบาร์บารอสซา) หรือการปฏิบัติทางทหารที่ไม่เคยลงมือจริง

หน่วย รูปขบวนหรือฐาน

แก้

บทความเกี่ยวกับหน่วย รูปขบวนหรือฐานควรตั้งชื่อเป็น "ชื่อ (ข้อความแก้ความกำกวมหากจำเป็น)" ชื่อโดยทั่วไปควรเป็นชื่ออย่างเป็นทางการที่กองทัพที่หน่วยหรือฐานสังกัดใช้ หรือในกรณีที่ไม่มีชื่ออย่างเป็นทางการหรือชื่ออย่างเป็นทางการที่นักประวัติศาสตร์มิได้ใช้กันทั่วไป จะใช้ชื่อสามัญในวรรณกรรมประวัติศาสตร์ก็ได้

ชื่อที่มาจากภาษาอื่นนอกเหนือจากภาษาไทยควรรับมาโดยแปลคำสามัญ (เช่น การกำหนดขนาดและประเภท) แล้วถ่ายตัวอักษรที่เหลือ ทางเลือกว่าส่วนใดของชื่อที่จะถูกแปล (และอย่างไร) ควรเป็นไปตามความนิยมที่ใช้ในงานประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับหัวข้อนั้น ชื่อเดิมควรระบุในประโยคแรกของบทความ ตามหลังชื่อที่แปลมาแล้ว ตัวอย่างเช่น กองพลภูเขาที่ 3 (3. Gebirgs-Division)

หมวดหมู่

แก้

การตั้งชื่อหมวดหมู่ควรจะตั้งชื่อให้ครอบคลุมทั่วไป อย่างเช่น

และควรจะมีการตรวจสอบดูหมวดหมู่ที่มีความหมายใกล้เคียงกันแล้วพยายามอย่าสร้างหมวดหมู่ใหม่โดยไม่จำเป็น

องค์ประกอบของบทความ

แก้

ประเภทการรบหรือสงคราม

แก้
  1. ชื่อ(ทั้งชื่อทางการและชื่ออื่น)
  2. เป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งใด
  3. วันเดือนปีที่เกิด
  4. ผู้เข้าร่วมรบในสงคราม
  5. สาเหตุที่นำไปสู่สงคราม
  6. ผลของสงคราม
  7. จุดเด่นของสงคราม (ถ้ามี)

ประเภทหน่วยทหาร

แก้
  1. ชื่ออย่างเป็นทางการ คำเรียกย่อและชื่อเล่น
  2. สัญชาติ
  3. ระบุว่าเป็นส่วนหนึ่งของกองกำลังประเภทใด (กองทัพบก กองทัพเรือหรือกองทัพอากาศ)
  4. ปีที่ก่อตั้ง
  5. ปีที่ยกเลิกและสาเหตุ
  6. ผลงานที่โดดเด่น

ประเภทอาวุธ

แก้
  1. ประวัติศาสตร์ของอาวุธ รวมไปถึงสาเหตุที่นำไปสู่การผลิตอาวุธและการพัฒนา รวมไปถึงประวัติการใช้งาน
  2. การออกแบบและสมรรถภาพ จุดเด่นและอธิบายรูปแบบการทำงานเชิงกล
  3. เครื่องอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกัน
  4. รูปแบบอื่นของอาวุธ
  5. การใช้งานโดยพลเรือน (กลุ่มบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องกับรัฐ หรือกองทัพ)
  6. ผลกระทบต่อสื่อและวัฒนธรรม

ประเภทสื่อหรือวัฒนธรรม

แก้

บทความสื่อหรือวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการทหารควรจะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยง (เพราะมักจะเกิดการเบี่ยงเบนทางประวัติศาสตร์) ยกเว้นแต่ว่าเป็นหัวข้อที่เป็นที่รู้จักกันดี

การสรุปข้อมูลลงในกล่องข้อมูล

แก้

บทความที่เกี่ยวข้องกับการรบ

แก้

การเขียนสรุปบทความลงในกล่องข้อมูลในบทความที่เกี่ยวข้องกับการรบมีอยู่ 3 รูปแบบ[1] ซึ่งประกอบด้วย

โครงการวิกิการทหาร/แนวทางการเขียนบทความ
สถานที่
{{{place}}}
{{กล่องข้อมูล การรบ
| ชื่อการรบ =
| สงคราม =
| รูปภาพ =
| คำบรรยาย =
| วันที่ =
| สถานที่ =
| ผลการรบ =
| ผู้ร่วมรบ1 =
| ผู้ร่วมรบ2 =
| ผู้บัญชาการ1 =
| ผู้บัญชาการ2 =
| กำลัง1 =
| กำลัง2 =
| ความสูญเสีย1 =
| ความสูญเสีย2 =
| หมายเหตุ =
}}


สรุป{{{ชื่อสงคราม}}}
วันที่: {{{วันที่}}}
สถานที่: {{{สถานที่}}}
สาเหตุ: {{{สาเหตุ}}}
ผลลัพธ์: {{{ผลลัพธ์}}}
สงครามระหว่าง
{{{ฝ่าย1}}} {{{ฝ่าย2}}}
{{กล่องข้อมูล สงคราม
| ชื่อสงคราม =
| วันที่ =
| สถานที่ =
| สาเหตุ =
| ผลลัพธ์ =
| ฝ่าย1 =
| ฝ่าย2 =
}}


สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย
War of the Austrian Succession
 
“ศึกฟองเทนอย” โดย เอดวด เดเทลล์
วันที่16 ธันวาคม ค.ศ. 1740 – 18 ตุลาคม ค.ศ. 1748
(16 ธันวาคม พ.ศ. 228318 ตุลาคมพ.ศ. 2291)
สถานที่
ผล สนธิสัญญาเอซ-ลา-ชาเปล ค.ศ. 1748
คู่สงคราม
  ปรัสเซีย
  ฝรั่งเศส
  สเปน
  บาวาเรีย
  ทูซิชิลีส์
  สวีเดน (1741–1743)
  ออสเตรีย
  บริเตนใหญ่
  ฮาโนเวอร์
  รัฐเนเธอร์แลนด์
  แซกโซนี
  ซาร์ดิเนีย
  รัสเซีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
  ฟรีดริชที่ 2
  เลโอโปลด์ ที่ 1
  เลโอโปลด์ ที่ 2
  มอรีซเดอแซกซ์
  ฟรองซัวส์-มารีแห่งโบรกลี
  ชาร์ลส์ที่ 7
  ชาร์ลส์ อีมิล เลเว็นฮอพ
  ลุดวิก อันเดรียส์ ฟอน เคเฟนฮึลเลอร์
  ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์
  จอร์จที่ 2
  ชาร์ลส์ เอ็มมานูเอลที่ 3
{{Infobox Military Conflict
| conflict    = 
| partof      = 
| image       = 
| caption     = 
| date        = 
| place       = 
| territory   = 
| result      = 
| status      = 
| combatant1  = 
| combatant2  = 
| combatant3  = 
| commander1  = 
| commander2  = 
| commander3  = 
| strength1   = 
| strength2   = 
| strength3   = 
| casualties1 = 
| casualties2 = 
| casualties3 =
| notes       = 
}}


{{การทัพ
| ชื่อดิบ     =
| ชื่อ=
| รายชื่อ  =
| หมายเหตุ    =
}}
  • ชื่อ – ชื่อของการทัพ และควรสร้างลิงก์ไปหาหัวข้อหลักของมันด้วย การเขียนวัน เดือน ปีลงไปนั้นไม่จำเป็น แต่ว่าสามารถใส่ได้หากเป็นการทัพที่ชื่อซ้ำหรือใกล้เคียงกัน
  • ชื่อดิบ – ชื่อที่ใช้สำหรับสร้างแม่แบบ รูปแบบควรจะเป็น "Campaignbox ชื่อแม่แบบ" ซึ่งสามารถสร้างได้ด้วยโค้ด {{subst:PAGENAME}}
  • รายชื่อ – รายชื่อยุทธการภายในการทัพ และควรสร้างลิงก์ไปหาด้วยโค้ด [[Battle of YYYY|YYYY]];
  • หมายเหตุไม่จำเป็น – เป็นการอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเหตุการณ์ดังกล่าวสั้นๆ


บทความที่เกี่ยวข้องกับอาวุธ

แก้

ปืน

แก้
 
จากบนล่าง ปืน M16A1 , M16A2, M4A1 และปืน M16A4
M16
ชนิด ปืนเล็กยาวจู่โจม (Assault Rifle)
สัญชาติ   สหรัฐ
สมัย สงครามเวียดนาม - ปัจจุบัน
การใช้งาน อาวุธประจำกาย
เป้าหมาย บุคคล
เริ่มใช้ พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1967)
ช่วงผลิต พ.ศ. 2500 - ปัจจุบัน
ช่วงการใช้งาน พ.ศ. 2503 - ปัจจุบัน
ผู้ใช้งาน {{{user}}}
สงคราม สงครามเวียดนาม, สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอิรัก
ขนาดลำกล้อง 5.56 มิลลิเมตร (0.223 นิ้ว 6 เกลียว เวียนขวา)
ระยะครบรอบเกลียว {{{Rate_of_twist}}}
ความยาวลำกล้อง 508 มิลลิเมตร
กระสุน Ball M193 , M855 ขนาด 5.56x45 mm. NATO ระยะครบรอบเกลียว A1=16 ฟุต A2=12 ฟุต
ซองกระสุน {{{feed}}}
ระบบปฏิบัติการ {{{action}}}
อัตราการยิง 750 - 900 นัด/นาที
ความเร็วปากลำกล้อง 975 m/s (3,200 ft/s Ball M193)

930 m/s (3,050 ft/s Ball M855)

ระยะยิงหวังผล {{{Effective_range}}}
ระยะยิงไกลสุด {{{Maximum_range}}}
น้ำหนัก แล้วแต่แบบ
ความยาว A1=990.6 มม.,A2=1006 มม.
แบบอื่น M4 Carbine,AR-15
{{กล่องข้อมูล ปืน
|ชนิด =
|สัญชาติ = 
|สมัย =
|การใช้งาน =
|เป้าหมาย = 
|เริ่มใช้ =
|ช่วงผลิต =
|ช่วงการใช้งาน =
|ผู้ปฏิบัติการ =
|สงคราม = 
|ชนิด = 
|ขนาดลำกล้อง = 
|ความยาวลำกล้อง = 
|กระสุน =
|แมกกาซีน = 
|การทำงาน = 
|อัตราการยิง =
|ความเร็วปากลำกล้อง =
|ระยะหวังผล = 
|น้ำหนัก =
|ความยาว =
|แบบอื่น =
|จำนวนที่ผลิต =
}}


รถถัง

แก้
{{กล่องข้อมูล รถถัง
|ชื่อ= 
|รูปภาพ= 
|คำอธิบาย= 
|สัญชาติ= 
|ประเภท= 
<!-- ประวัติการปฏิบัติการ -->
|ปีที่ใช้งาน=
|ผู้ใช้งาน=
|สงคราม=
<!-- ประวัติการผลิต -->
|ผู้ออกแบบ= 
|ปีที่ออกแบบ=
|ผู้ผลิต= 
|ต้นทุนการผลิต=
|ปีที่ผลิต=
|จำนวนการผลิต=
|รูปแบบอื่น=
<!-- รายละเอียด -->
|น้ำหนัก= 
|ความยาว=  
|ความกว้าง=
|ความสูง=
|พลประจำรถ=
|เกราะ=
|อาวุธหลัก=
|อาวุธรอง=
|เครื่องยนต์=
|กำลังเครื่องยนต์=
|อัตราน้ำหนัก=
|การสื่อสาร=
|น้ำหนักบรรทุก=
|ระบบกันสะเทือน=
|ช่วงล่าง=
|ความจุถังน้ำมัน=
|ความเร็วสูงสุด=
|ระบบขับเคลื่อน=
}}
  • ชื่อ – ชื่ออยากเป็นทางการของรถถัง
  • รูปภาพไม่จำเป็น – รูปภาพของรถถัง ภาพที่ใส่ควรจะอยู่ในรูปของโค้ด  ; และห้ามใส่โค้ด "thumb" เด็ดขาด
  • คำอธิบายไม่จำเป็น – คำอธิบายที่อยู่ใต้รูปภาพ
  • สัญชาติไม่จำเป็น – ประเทศที่เป็นผู้ผลิตรถถังเป็นครั้งแรกหรือประเทศที่มีการนำไปใช้เป็นครั้งแรก
  • ประเภทไม่จำเป็น – ประเภทของรรถัง

ประวัติการปฏิบัติการ:

  • ปีที่ใช้งานไม่จำเป็น – ช่วงเวลาที่รถถังออกปฏิบัติการ
  • ผู้ใช้งานไม่จำเป็น – ประเทศหรือกลุ่มติดอาวุธที่นำไปใช้
  • สงครามไม่จำเป็น – สงครามที่ได้มีการนำรถถังออกมาใช้งาน

ประวัติการผลิต:

  • ผู้ออกแบบไม่จำเป็น – บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่ออกแบบรถถัง
  • ปีที่ออกแบบไม่จำเป็น – วัน เดือน ปีที่รถถังได้ออกแบบสำเร็จ
  • ผู้ผลิตไม่จำเป็น – บริษัทที่ทำการผลิตรรถัง
  • ต้นทุนการผลิตไม่จำเป็น – ราคาต้นทุนของรรถังหนึ่งคัน
  • ปีที่ผลิตไม่จำเป็น – ช่วงเวลาที่เกิดการผลิตรถถัง
  • จำนวนไม่จเป็น – จำนวนรถถังที่ถูกผลิตออกมา
  • รูปแบบอื่นไม่จำเป็น – รูปแบบ (รุ่น) ที่ถูกออกแบบตามมาในภายหลัง

รายละเอียด:

  • น้ำหนักไม่จำเป็น – น้ำหนักของรรถัง
  • ความยาวไม่จำเป็น – ความยาวทั้งหมดของตัวรถถัง
  • ความกว้างไม่จำเป็น – ความกว้างทั้งหมดของตัวรถถัง
  • ความสูงไม่จำเป็น – ความสูงทั้งหมดของตัวรถถัง
  • พลประจำรถไม่จำเป็น – จำนวนเจ้าหน้าที่ที่ควบคุมรถถัง
  • เกราะไม่จำเป็น – ประเภทและความหนาของเกราะที่หุ้มรถถัง
  • อาวุธหลักไม่จำเป็น – อาวุธหลักของรถถัง
  • อาวุธรองไม่จำเป็น – อาวุธรองของรถถัง
  • เครื่องยนต์ไม่จำเป็น – ประเภทเครื่องยนต์ของรถถัง
  • กำลังเครื่องยนต์ไม่จำเป็น – กำลังของเครื่องยนต์รถถัง บอกหน่วยเป็น กำลังม้า หรือ กิโลวัตต์
  • อัตรานำหนักไม่จำเป็น – อัตราส่วนกำลัง/น้ำหนักของตัวรถถัง โดยบอกน้ำหนักเป็นตัน
  • การสื่อสารไม่จำเป็น – ประเภทของการสื่อสารภายในตัวรถถัง
  • น้ำหนักบรรทุกไม่จำเป็น – น้ำหนักบรรทุกทั้งหมดของรถถัง
  • ความจุถังน้ำมันไม่จำเป็น – ความจุถังน้ำมันของรถถัง
  • ระบบกันกระเทือนไม่จำเป็น – ระบบกันกระเทือนของรถถัง
  • ช่วงล่างไม่จำเป็น – ระยะห่างระหว่างส่วนล่างของรถถังกับพื้นดิน
  • ระยะทำการไม่จำเป็น – ระยะทำการของรถถัง หมายถึงระยะทางไกลที่สุดที่รถถังได้รับการบรรจุน้ำมันเต็มถัง แล้ว เคลื่อนที่ไปได้ไกลที่สุดแล้วสามารถวิ่งกลับไปที่จุดเริ่มต้นได้
  • ความเร็วสูงสุดไม่จำเป็น – ความเร็วสูงสุดขงอรรถัง
  • ระบบขับเคลื่อนไม่จำเป็น – ระบบขับเคลื่อนของตัวรถถัง

บทความที่เกี่ยวข้องกับนักการทหาร

แก้

{{กล่องข้อมูล นักการทหาร}}

{{กล่องข้อมูล นักการทหาร
|ชื่อ=
|รูปภาพ=
|คำอธิบาย=
|เกิด=
|ถึงแก่กรรม=
|สถานที่เกิด=
|สถานที่ถึงแก่กรรม=
|ชื่อเล่น/ฉายา/ราชทินนาม=
|เหล่าทัพ=
|ปีที่รับราชการทหาร=
|ยศ=
|สังกัด=
|บัญชาการ=
|สงคราม=
|รางวัล=
|อาชีพอื่น=
}}
  • ชื่อ – ชื่อเต็มของบุคคลนี้
  • รูปภาพไม่จำเป็น – รูปภาพ และต้องใส่โค้ด "" ต่อท้ายลงไปด้วย [[Image:Example.jpg|300px]]; และห้ามโค้ด "thumb" เด็ดขาด
  • คำอธิบายไม่จำเป็น – คำอธิบายใต้รูปภาพ
  • เกิดไม่จำเป็น – วัน เดือน ปีที่เกิดของบุคคลนี้
  • ถึงแก่กรรมไม่จำเป็น – วัน เดือน ปีที่เสียชีวิตของบุคคลนี้
  • สถานที่เกิดไม่จำเป็น – สถานที่เกิดของบุคคลนั้นของบุคคลนี้
  • สถานที่ถึงแก่กรรมไม่จำเป็น – สถานที่ถึงแก่กรรมของบุคคลนี้
  • ชื่อเล่น/ฉายา/ราชทินนามไม่จำเป็น – ชื่อเล่นหรือฉายาอันเป็นที่รู้จักกันดีของบุคคลนี้ หรือเป็นราชทินนามที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นจนเป็นที่ประจักษ์
  • เหล่าทัพไม่จำเป็น – เหล่าทัพที่ได้รับตำแหน่งหน้าที่ (กองทัพบก, กองทัพเรือและกองทัพอากาศ)
  • ปีที่รับราชการทหารไม่จำเป็น – ปีที่บุคคลนี้เข้ารับราชการทหาร
  • ยศไม่จำเป็น – ยศสูงสุดที่ได้รับก่อนที่จะเสียชีวต ยศสูงสุดอาจมีได้หลายยศในกรณีที่รับราชการทหารในเหล่าทัพอื่น
  • สังกัดไม่จำเป็น – สำหรับนายทหารชั้นประทวน กองกำลังที่บุคคลนี้ได้เคยสังกัด (ควรบอกระยะเวลาด้วย)
  • บัญชาการไม่จำเป็น – สำหรับนายทหารชั้นสัญญาบัตร กองกำลังที่บุคคลนี้ได้รับหน้าที่บัญชาการ (ควรบอกระยะเวลาด้วย)
  • สงครามไม่จำเป็น – รายชื่อยุทธการหรือสงครามที่บุคคลนี้มีส่วนเกี่ยวข้อง
  • รางวัลไม่จำเป็น – รางวัลที่บุคคลนี้ได้รับ
  • อาชีพอื่นไม่จำเป็น – อาชีพการงานหรือตำแหน่งนอกเหนือจากตำแหน่งในกองทัพ

บทความที่เกี่ยวข้องกับหน่วยทหาร

แก้

{{กล่องข้อมูล หน่วยทหาร}}

กองพลทหารราบที่ 1
(สหรัฐอเมริกา)
 
ธงประจำหน่วย
ประเทศสหรัฐอเมริกา
รูปแบบกองพลทหารราบ
บทบาทInfanterie méchanisée
กองบัญชาการฟอร์ต ริลีย์ รัฐแคนซัส
สมญาThe Big Red One
คำขวัญ« No Mission Too Difficult, No Sacrifice Too Great—Duty First »
สีหน่วยแดง-น้ำเงิน
เพลงหน่วยThe Big Red One Song
สัญลักษณ์นำโชคRags
ปฏิบัติการสำคัญOperation Torch,
Operation Husky,
ยุทธภูมินอร์มังดี
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการกองพลพลตรีคาร์เตอร์ แฮม
{{กล่องข้อมูล หน่วยทหาร
|unit_name = 
|image = 
|caption = 
|founded = 
|dissolution = 
|country = 
|allegeance =
|branche = 
|type = 
|role = 
|size = 
|command_structure1 = 
|command_structure2 = 
|garrison = 
|old_name = 
|nickname = 
|colors = 
|honneur = 
|motto = 
|march = 
|mascot = 
|inscriptions = 
|anniversaries = 
|wars = 
|battles = 
|decorations = 
|equipement = 
|commander = 
|commander_label = 
|notable_commanders = 
<!-- สัญลักษณ์หน่วย -->
|identification_symbol=
|identification_symbol_label=
|identification_symbol_2=
|identification_symbol_2_label=
|identification_symbol_3=
|identification_symbol_3_label=
|identification_symbol_4=
|identification_symbol_4_label=
}}

ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่ต้องใส่ มีดังนี้

  • unit_name = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ชื่อหน่วย หากไม่ใส่ จะใช้ชื่อบทความเป็นชื่อหน่วยในกล่องข้อมูลโดยอัตโนมัติ
  • image = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ใส่ชื่อไฟล์ภาพสำหรับเครื่องหมายประจำหน่วย เช่น ธง, ตรา เป็นต้น การใช้ให้ทำเช่นเดียวกับการใส่ภาพอื่นๆ ในวิกิพีเดีย (สามารถกำหนดขนาดภาพได้) แต่ต้องไม่ใส่ค่า "thumb" โดยเด็ดขาด
  • caption = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - คำอธิบายภาพ
  • founded = ใส่วัน/เดือน/ปีที่สถาปนาหน่วย
  • dissolution = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ใส่วัน/เดือน/ปีที่ยุบหน่วย
  • country = ชื่อประเทศที่หน่วยสังกัด
  • allegeance = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - Nom de la force auqelle est rattachée l'unité. Principalement pour les unités d'armées non régulières ou bien les unités de la Garde Nationale américaine où le nom de l'état doit être indiqué.
  • branche = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - เหล่าทัพที่หน่วยสังกัด
  • type = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ใส่ข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบและเหล่าของหน่วย เช่น กองพลทหารราบ กองพลอากาศโยธิน เป็นต้น
  • role = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - Infanterie, blindés, ... - Utilisation tactique.
  • size = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - กำลังรบของหน่วย เช่น จำนวนกำลังพล (ถ้าทราบ)
  • command_structure1 = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ชื่อของหน่วยขึ้นตรง
  • command_structure2 = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ชื่อหน่วยขึ้นตรงภายใต้การบังคับบัญชาของหน่วย
  • garrison = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ที่ตั้งหน่วย
  • old_name = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ชื่อเดิมของหน่วย
  • surnom = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - สมญานามของหน่วย
  • inscriptions = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - Inscription(s) sur l'emblème ou drapeau. Pour les unités françaises essentiellement.
  • colors = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - สีประจำหน่วย
  • honneur = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - Nom de la personne en l'honneur de laquelle à été créée l'unité. Convient principalement aux unités de l'armée de l'air qui porte souvent des noms de personnes.
  • motto = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - คำขวัญประจำหน่วย
  • march = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - เพลงมาร์ชประจำหน่วย
  • mascot = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - สัญลักษณ์นำโชคของหน่วย
  • anniversaries = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - วันสถาปนาหน่วย (เพิ่มเติมเมื่อวันที่ก่อตั้งหน่วยจริงๆ ไม่ใช่วันที่หน่วยยึดถือเอาเป็นวันสถาปนาหน่วย)
  • wars = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - สงครามที่หน่วยได้เข้าร่วมรบ
  • battles = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - การปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ ที่สำคัญของหน่วย
  • fourragère= ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - Fourragère(s) obtenue(s) par l'unité
  • decorations = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์หรืออิสริยาภรณ์ที่หน่วยได้รับ
  • equipement= ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - Équipement militaire pour laquelle est connu l'unité. (Par exemple : le char Leclerc)
  • commanders = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ผู้บังคับบัญชาหน่วยในปัจจุบัน
  • commander_label = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ชื่อตำแหน่งผู้บังคับบัญชาหน่วย
  • notable_commanders = ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) - ผู้บังคับบัญชาหน่วยในอดีตที่สำคัญ
  • identification_symbol – ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) – ภาพสัญลักษณ์อื่นๆ ที่ใช้ระบุหน่วยทหาร การใส่ภาพให้ใส่เช่นเดียวกับพารามิเตอร์ image
  • identification_symbol_label – ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) – คำอธิบายภาพสัญลักษณ์ในพารามิเตอร์ identification_symbol_label
  • identification_symbol_2 – ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) – ใช้เช่นเดียวกับพารามิเตอร์ identification_symbol
  • identification_symbol_2_label – ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) – ใช้เช่นเดียวกับพารามิเตอร์ identification_symbol_label
  • identification_symbol_3 – ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) – ใช้เช่นเดียวกับพารามิเตอร์ identification_symbol
  • identification_symbol_3_label – ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) – ใช้เช่นเดียวกับพารามิเตอร์ identification_symbol_label
  • identification_symbol_4 – ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) – ใช้เช่นเดียวกับพารามิเตอร์ identification_symbol
  • identification_symbol_4_label – ส่วนเพิ่มเติม (สามารถเว้นได้) – ใช้เช่นเดียวกับพารามิเตอร์ identification_symbol_label

การอ้างอิงและเชิงอรรถ

แก้

ทรัพยากร

แก้
  1. พจนานุกรมศัพท์ และคำย่อด้านความมั่นคง ฉบับอังกฤษ-ไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ (ความเห็น: บางทีคำเดียวกันก็ใช้ไม่ตรงกัน Wedjet (คุย))

การจัดหมวดหมู่

แก้

หรือคุณสามารถสร้างหมวดหมู่ใหม่ได้ โดยดูหลักเกณฑ์ได้ที่ การสร้างหมวดหมู่ใหม่

การตรวจสอบและรักษาคุณภาพของบทความ

แก้

หมายเหตุ

แก้
  1. ซึ่งในขณะนี้กำลังอยู่ในการตัดสินว่าจะใช้กล่องข้อมูลแบบใดจึงจะเป็นมาตรฐานในการเขียนบทความใหม่ในอนาคตต่อไป