ธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
พลเอก ธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ (เกิด; 5 สิงหาคม 2501) ตุลาการศาลทหารสูงสุด[2]ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการฝ่ายจัดขบวนพระบรมราชอิสริยยศพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร อดีตผู้อำนวยการศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพไทย[3] อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ อดีตเสนาธิการทหาร สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ[4]กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช[5] และอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ | |
---|---|
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม 2560 – 30 กันยายน 2561 | |
ก่อนหน้า | พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ |
ถัดไป | พลเอก พรพิพัฒน์ เบญญศรี |
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 31 กรกฎาคม 2557 – 21 พฤษภาคม 2562 | |
สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2501 |
คู่สมรส | จิราพร ศรีสุวรรณ |
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | โรงเรียนวัดราชบพิธ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 17 (ตท.17) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่น 28 (จปร.28) โรงเรียนเสนาธิการทหารบก โรงเรียนเสนาธิการทหารบกอังกฤษ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
ชื่อเล่น | ต๊อก |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ไทย |
ยศ | พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก[1] |
การศึกษา
แก้- โรงเรียนวัดราชบพิธ
- โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 17
- โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 28
- โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
- โรงเรียนเสนาธิการทหารบกอังกฤษ
- หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
- ศิลปศาสตร์บัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2557 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[6]
- พ.ศ. 2553 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[7]
- พ.ศ. 2529 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)
- พ.ศ. 2530 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[8]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[9]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ ได้รับการแต่งตั้งยศทหาร
- ↑ ประกาศแต่งตั้งตุลาการศาลทหารสูงสุด
- ↑ "ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองทัพไทย" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-10-28. สืบค้นเมื่อ 2020-10-05.
- ↑ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
- ↑ กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๗ เก็บถาวร 2022-11-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๒๗ ข หน้า ๓, ๓ ธันวาคม ๒๕๕๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๓ เก็บถาวร 2022-11-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๑๔ ข หน้า ๑๑, ๘ ธันวาคม ๒๕๕๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน เก็บถาวร 2022-09-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๓๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗๐, ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๙, ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕
- ↑ https://www.information.gov.bn/English%20Publication%20PDF/BDN%20July%202018.pdf
- ↑ "Top Military Award Conferred on Thai Chief of Defence Forces". www.mindef.gov.sg (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-19. สืบค้นเมื่อ 2022-10-19.
ก่อนหน้า | ธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ | ผู้บัญชาการทหารสูงสุด (1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561) |
พลเอก พรพิพัฒน์ เบญญศรี |