จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
| |||||||||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 309,558 | ||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 57.44% | ||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||
|
ภาพรวม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
แก้สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
แก้เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ราษฎร (พ.ศ. 2529) | ไพฑูรย์ แก้วทอง (1)* | 60,656 | |||
ชาติไทย | บุญเสริม ถาวรกูล (7) | 57,292 | |||
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) | สุณีย์ เหลืองวิจิตร (5) | 34,100 | |||
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) | ภูมิชัย สุรรัตน์ (3) | 16,728 | |||
ราษฎร (พ.ศ. 2529) | ยวน หลวงนรินทร์ (2) | 2,276 | |||
ประชากรไทย | โกศล อินทะกูล (9) | 1,943 | |||
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) | สมศักดิ์ สำราญพันธ์ (4) | 1,421 | |||
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) | ประจักษ์ ดอกพุฒิ (6) | 610 | |||
ชาติไทย | โสภณ สิทธิเกษร (8) | 391 | |||
รวมไทย (พ.ศ. 2529) | วรรณชลี รักนาค (14) | 351 | |||
สหประชาธิปไตย | ฉอ้อน วิมาลา (15) | 165 | |||
สหประชาธิปไตย | พิศวง ราชประสิทธิ์ (16) | 157 | |||
ประชากรไทย | เอกอุปัญญ์ เลื่อนสุคันธ์ (10) | 123 | |||
มวลชน | ทัศนีย์ พันธ์เตี้ย (12) | 116 | |||
มวลชน | โสภา คงคุ้ม (11) | 62 | |||
รวมไทย (พ.ศ. 2529) | วรวุฒิ เต๊ะปานันท์ (13) | 51 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ราษฎร (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง | |||||
ชาติไทย รักษาที่นั่ง |
เขตเลือกตั้งที่ 2
แก้เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอทับคล้อ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | พันโท สนั่น ขจรประศาสน์ (3)* | 46,667 | |||
ประชาธิปัตย์ | โตก รอดรักษา (4)* | 44,008 | |||
รวมไทย (พ.ศ. 2529) | วุฒิชัย นันทนพิบูล (1) | 34,710 | |||
พลังธรรม | เสถียร เม่นบางผึ้ง (15) | 11,340 | |||
รวมไทย (พ.ศ. 2529) | สงวนศรี นันทนพิบูล (2) | 5,886 | |||
พลังธรรม | วิภา สืบสังข์ (16) | 1,416 | |||
ชาติไทย | ละออ โล่สุวรรณ (14) | 861 | |||
ราษฎร (พ.ศ. 2529) | พยนต์ บัวชุม (5) | 656 | |||
ประชากรไทย | พิชิต ฤทธิ์หิรัญ (9) | 247 | |||
ประชากรไทย | ร้อยตำรวจตรี สะอาด ค้ำชู (10) | 222 | |||
สหประชาธิปไตย | นพดล ราชประสิทธิ์ (17) | 222 | |||
สหประชาธิปไตย | ปราณี แสงไชย (18) | 210 | |||
ราษฎร (พ.ศ. 2529) | เสมา ธนกิจพัฒน์ (6) | 120 | |||
ชาติไทย | พาน ทับจีน (13) | 109 | |||
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) | บุญลือ สุวรรณศิลป์ (7) | 94 | |||
มวลชน | พัฒนา จาติเกตุ (11) | 83 | |||
มวลชน | จักรพันธ์ อุทยานานนท์ (12) | 82 | |||
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) | บุญเสริม เหมรัตน์ (8) | 73 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532