จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
| |||||||||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 285,866 | ||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 61.76% | ||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||
|
ภาพรวม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
แก้สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
แก้เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ราษฎร (พ.ศ. 2529) | ไพฑูรย์ แก้วทอง (1)✔ | 63,806 | |||
ชาติไทย | ยุพา อุดมศักดิ์ (7)* | 54,515 | |||
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) | สุณีย์ เหลืองวิจิตร (9) | 20,132 | |||
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) | เรือตรี พายัพ ผะอบเหล็ก (18)✔ | 11,925 | |||
ประชาธิปัตย์ | สุเทพ วสันติวงศ์ (5)* | 10,090 | |||
ประชากรไทย | สมพงษ์ เอี่ยมอุไร (3) | 2,065 | |||
ราษฎร (พ.ศ. 2529) | ยวน หลวงนรินทร์ (2) | 1,891 | |||
ประชาธิปัตย์ | ธีระ วสันติวงศ์ (6) | 1,599 | |||
ชาติไทย | นิมิตร คัชมาตย์ (8) | 904 | |||
ประชากรไทย | มนัส สุพรรณกุล (4) | 757 | |||
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) | สานิตย์ มังกรณ์เพ็ชร (17) | 674 | |||
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) | จำรัส สุขสุศรี (20) | 279 | |||
สหประชาธิปไตย | มาก โตสงคราม (14) | 241 | |||
แรงงานประชาธิปไตย | ไสว สิบหย่อม (16) | 237 | |||
แรงงานประชาธิปไตย | รัตน์ ดีพร้อม (15) | 217 | |||
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) | สมชาย ชูณรงค์ (19) | 197 | |||
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) | สง่า คล่องแคล่ว (10) | 180 | |||
รวมไทย (พ.ศ. 2529) | กองเพชร รุ่งรังษี (12) | 132 | |||
สหประชาธิปไตย | โพธิ์ ชื่นภิรมย์ (13) | 80 | |||
รวมไทย (พ.ศ. 2529) | สุรัตน์ แสงดี (11) | 58 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์ | |||||
ชาติไทย รักษาที่นั่ง |
เขตเลือกตั้งที่ 2
แก้เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และกิ่งอำเภอทับคล้อ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | พันโท สนั่น ขจรประศาสน์ (5)* | 47,788 | |||
ประชาธิปัตย์ | โตก รอดรักษา (6)✔ | 44,399 | |||
ชาติไทย | ทองปอนด์ สิทธิเกษร (1)* | 24,618 | |||
สหประชาธิปไตย | พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ (3) | 16,741 | |||
สหประชาธิปไตย | ณรงค์ บุญมี (4) | 10,773 | |||
ประชากรไทย | ชวลิต จันคนา (7) | 2,089 | |||
ประชากรไทย | พงษ์ศักดิ์ วรรณพักตร์ (8) | 1,353 | |||
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) | ชุมพล ชัยรัตนศักดา (9) | 963 | |||
ชาติไทย | ชูชาติ สุขอินทร์ (2) | 916 | |||
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) | จำเนียร วงษ์ศรีเดช (10) | 914 | |||
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) | เยาวลักษณ์ ทยานันทน์ (13) | 338 | |||
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) | อนงค์ เซียงทา (15) | 338 | |||
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) | อุไร จู้อี้ (16) | 326 | |||
รักไทย | ฑนนท์ นันทสุข (18) | 209 | |||
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) | วัลลภ อิศรางกูร ณ อยุธยา (14) | 192 | |||
รักไทย | สุทธิ์ รุ่งเรือง (17) | 113 | |||
รวมไทย (พ.ศ. 2529) | พีระ แสงดี (11) | 105 | |||
รวมไทย (พ.ศ. 2529) | ไทรณ พวงแก้ว (12) | 81 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530