สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร

จังหวัดพิจิตร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์ แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพิจิตรมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนคุรุการพิจิตร (เทียม พฤกษะวัน)[2]

เขตเลือกตั้ง แก้

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และกิ่งอำเภอวังทรายพูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก และอำเภอโพทะเล
  4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และกิ่งอำเภอทับคล้อ
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอทับคล้อ
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง, อำเภอวังทรายพูน และกิ่งอำเภอสากเหล็ก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอทับคล้อ
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง, อำเภอวังทรายพูน และกิ่งอำเภอสากเหล็ก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล, อำเภอทับคล้อ, กิ่งอำเภอดงเจริญ และกิ่งอำเภอบึงนาราง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอวังทรายพูน, อำเภอเมืองพิจิตร (ยกเว้นตำบลย่านยาว ตำบลคลองคะเชนทร์ ตำบลโรงช้าง และตำบลเมืองเก่า) และกิ่งอำเภอสากเหล็ก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวชิรบารมี, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอเมืองพิจิตร (เฉพาะตำบลย่านยาว ตำบลคลองคะเชนทร์ ตำบลโรงช้าง และตำบลเมืองเก่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และกิ่งอำเภอบึงนาราง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอทับคล้อ และกิ่งอำเภอดงเจริญ
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอวชิรบารมี, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง, อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสากเหล็ก และอำเภอวังทรายพูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอทับคล้อ, อำเภอดงเจริญ, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอบึงนาราง
  4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอทับคล้อ, อำเภอวังทรายพูน, อำเภอสากเหล็ก และอำเภอเมืองพิจิตร (ยกเว้นตำบลย่านยาว ตำบลคลองคะเชนทร์ ตำบลโรงช้าง และตำบลเมืองเก่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวชิรบารมี, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง, อำเภอตะพานหิน (เฉพาะตำบลวังสำโรง ตำบลทับหมัน ตำบลวังหว้า ตำบลห้วยเกตุ ตำบลคลองคูณ และตำบลตะพานหิน) และอำเภอเมืองพิจิตร (เฉพาะตำบลย่านยาว ตำบลคลองคะเชนทร์ ตำบลโรงช้าง และตำบลเมืองเก่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบึงนาราง, อำเภอโพทะเล, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอดงเจริญ และอำเภอตะพานหิน (เฉพาะตำบลงิ้วราย ตำบลหนองพยอม ตำบลคลองคูณ ตำบลไผ่หลวง ตำบลไทรโรงโขน ตำบลดงตะขบ และตำบลทุ่งโพธิ์)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอวชิรบารมี, อำเภอสามง่าม และอำเภอเมืองพิจิตร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสากเหล็ก, อำเภอวังทรายพูน, อำเภอตะพานหิน, อำเภอทับคล้อ และอำเภอดงเจริญ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล, อำเภอบึงนาราง และอำเภอโพธิ์ประทับช้าง
  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต แก้

ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492 แก้

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 ขุนคุรุการพิจิตร (เทียม พฤกษะวัน)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายเพิ่ม วงศ์ทองเหลือ
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายแก้ว สิงหะคเชนทร์
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายเพิ่ม วงศ์ทองเหลือ
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายจิตร สุวรรณโรจน์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเพิ่ม วงศ์ทองเหลือ
พ.ศ. 2492 นายเผด็จ จิราภรณ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7–9; พ.ศ. 2495–2500 แก้

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเผด็จ จิราภรณ์ นายแก้ว สิงหคะเชนทร์
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 พันโท เผ่าชัย บุปพะกสิกร นายแก้ว สิงหะคเชนทร์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 จ่าสิบตรี กรี บุญเสรฐ นายยะเลิศร์ วงศ์ทองเหลือ

ชุดที่ 10–12; พ.ศ. 2512–2519 แก้

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพัฒนาจังหวัด
      พรรคพลังใหม่
      พรรคสังคมชาตินิยม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 เรือตรี พายัพ ผะอบเหล็ก นายยะเลิศร์ วงศ์ทองเหลือ นายบุญเจตน์ จันทร์ศรีวงศ์
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายวิศาล ภัทรประสิทธิ์ นายไพฑูรย์ แก้วทอง
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นางยุพา อุดมศักดิ์ เรือตรี พายัพ ผะอบเหล็ก

ชุดที่ 13–20; พ.ศ. 2522–2539 แก้

      พรรคกิจสังคม
      พรรคพลังใหม่
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรครวมไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นางยุพา อุดมศักดิ์ นายไพฑูรย์ แก้วทอง พลตรี สนิธ สังข์จันทร์ นายโตก รอดรักษา
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นางยุพา อุดมศักดิ์ นายสุเทพ วสันติวงศ์ พันโท สนั่น ขจรประศาสน์ นายทองปอนด์ สิทธิเกษร
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายไพฑูรย์ แก้วทอง นายโตก รอดรักษา
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายบุญเสริม ถาวรกูล
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายธำรง พัฒนรัฐ นายไพฑูรย์ แก้วทอง พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายบุญเสริม ถาวรกูล พันตำรวจโท สานิตย์ สุรังสี
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายไพฑูรย์ แก้วทอง นายวิทยา สุขิตานนท์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคมหาชน
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์
2 นายนราพัฒน์ แก้วทอง
(   / เลือกตั้งใหม่)
นางสุณีย์ เหลืองวิจิตร
3 นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ นายนาวิน บุญเสรฐ  
นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
(แทนนายนาวิน)
4 พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมชาติพัฒนา
      พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายนราพัฒน์ แก้วทอง
นายวินัย ภัทรประสิทธิ์
2 นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566 แก้

      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทย → พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายวินัย ภัทรประสิทธิ์ นายนราพัฒน์ แก้วทอง นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายพรชัย อินทร์สุข นายภูดิท อินสุวรรณ์
(ลาออกจากพรรค / ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายสุรชาติ ศรีบุศกร
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายภัทรพงษ์ ภัทรประสิทธิ์ นายวินัย ภัทรประสิทธิ์ นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ 

รูปภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น แก้