รายพระนามพระมหากษัตริย์นาวาร์

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
(เปลี่ยนทางจาก กษัตริย์แห่งนาวาร์)

ราชวงศ์อิญิเกวซ, ? 824–905 แก้

ราชวงศ์อิญิเกวซได้รับการยอมรับว่าเป็นราชวงศ์ที่สถาปนาราชอาณาจักรนาวาร์ (หรือปัมโปลนา) ราว 824

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
อิญิโก อาริสต้า
? 824–851/2
  รัชทายาท 4 พระองค์ 851/2
การ์เซีย อิญิเกวซ
851/2–882
  พระราชโอรสในอิญิโก อาริสต้า รัชทายาท 5 พระองค์ 882
ฟอร์ตุน การ์เซส
882–905
  พระราชโอรสในการ์เซีย อิญิเกวซ โอเรีย
รัชทายาท 5 พระองค์
922
(ถูกถอด 905)

ราชวงศ์ฆิเมเนส, 905–1234 แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
ซานโชที่ 1 การ์เซส
905–925
  พระราชโอรสในการ์เซีย ฆิเมเนสกับดาดิลดิส เด ปัลลาร์ส โทดาแห่งนาวาร์
6 พระองค์
11 ธันวาคม 925
เรซา
ฆิเมโน การ์เซส
925–931
พระราชโอรสในการ์เซีย ฆิเมเนสกับดาดิลดิส เด ปัลลาร์ส ซานชาแห่งนาวาร์
3 พระองค์
29 พฤษภาคม 931
การ์เซีย ซานเชสที่ 1
931–970
  919
พระราชโอรสในซานโชที่ 1 การ์เซสกับโทดาแห่งนาวาร์
อันเดรโกตาแห่งอารากอน
2 พระองค์
เทเรซ่า รามิเรซ แห่งเลออน
3 พระองค์
22 กุมภาพันธ์ 970
พระชนมายุ 51
ซานโชที่ 2
970–994
  หลัง 935
พระราชโอรสในซานโชที่ 1 การ์เซสกับอันเดรโกตา
อูร์รากา เฟอร์นานเดซ
4 พระองค์
ธันวาคม 994
การ์เซีย ซานเชสที่ 2
994–1000/1004
  พระราชโอรสในซานโชที่ 2กับอูร์รากา เฟอร์นานเดซ ฆิเมนา เฟอร์นานเดซ แห่งเซีย
981
4 พระองค์
1000/1004
ซานโชที่ 3 มหาราช
1004–1035
  985
พระราชโอรสในการ์เซีย ซานเชสที่ 2กับฆิเมนา เฟอร์นานเดซ แห่งเซีย
มูเนียโดนสแห่งกัสติยา
1010
4 พระองค์
18 ตุลาคม 1035
การ์เซีย ซานเชสที่ 3
1035–1054
  1016
พระราชโอรสในซานโชที่ 3 มหาราชกับมูเนียโดนาแห่งกัสติยา
เอสเตฟาเนียแห่งบาร์เซโลนา
1038
9 พระองค์
15 กันยายน ค.ศ. 1054
อาตาเปอร์กา
ซานโชที่ 4 การ์เซส
1054–1076
  1039
พระราชโอรสในการ์เซีย ซานเชสที่ 3กับเอสเตฟาเนียแห่งบาร์เซโลนา
ปลาเซนเซีย
1068
3 พระองค์
4 มิถุนายน 1076
เปญาเลน

เนื่องด้วยการสวรรคตของพนะเจ้าซานโชที่ 4 นาวาร์ถูกแบ่งโดยพระญาติพระองค์ได้แก่พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 แห่งกัสติยากับพระเจ้าซานฌช รามิเรซแห่งอารากอน นำไปสู่การควบคุมนาวาร์โดยอารากอนเป็นเวลากว่ากึ่งศตวรรษ

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
ซานโชที่ 5 รามิเรซ
1076–1094
  1042
พระราชโอรสในรามิโรที่ 1แห่งอารากอนกับเออร์เมซินเดแห่งบิกอร์
อิซาเบลแห่งอูร์เกล
1065
1 พระองค์
เฟลิเซียแห่งรูซี
1076
3 พระองค์
4 มิถุนายน 1094
เวสกา
พระชนมายุราว 52
เปโดร
1094–1104
  1068
พระราชโอรสในซานโชที่ 5กับอิซาเบลแห่งอูร์เกล
แอกเนสแห่งอากีแตน
1086
2 พระองค์
เบอร์ธาแห่งอารากอน
1097
ไม่มีรัชทายาท
28 กันยายน 1104
หุบเขาอารัน
พระชนมายุราว 36
อัลฟอนโซที่ 1
1104–1134
  1073
พระราชโอรสในซานโช รามิเรซแห่งอารากอนและนาวาร์กับเฟลิเซียแห่งรูซี
อูร์รากาแห่งกัสติยา
1109
ไม่มีรัชทายาท
8 กันยายน 1134
เวสกา
พระชนมายุราว 61

การสวรรคตของพระเจ้าอัลฟอนโซนำไปสู่วิกฤตการณ์การสืบราชสันตติวงศ์ในอารากอนและขุนนางนาวาร์เห็นว่าจะดีกว่าที่จะฟื้นฟูอาณาจักรอันเป็นอิสระ, จึงมีการสถาปนาพระนัดดา(สายพระอนุชานอกกฎหมาย) ในพระเจ้าซานโชที่ 4 ครองราชย์สืบมา

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
การ์เซีย รามิเรซ ผู้ฟื้นฟู
1134–1150
  พระราชโอรสในรามิโร ซานเชส แห่งมอนซงกับคริสติน่า รอดริเกซ ดิแอซ เด บิวาร์ มาร์เกอรีตแห่งไอเกล
1130
4 พระองค์
อูร์รากาแห่งกัสติยา
24 มิถุนายน 1144
2 พระองค์
21 พฤศจิกายน 1150
ลอร์กา
ซานโชที่ 6 ผู้ทรงปัญญา
1150–1194
  1133
พระราชโอรสในการ์เซีย รามิเรซ ผู้ฟื้นฟูกับมาร์เกอรีตแห่งไอเกล
ซันชาแห่งกัสติยา
1157
6 พระองค์
27 มิถุนายน 1194
ปัมโปลนา
ซานโชที่ 7 ผู้แข็งแรง
1194–1234
  1157
ทูเดลา
พระราชโอรสในซานโชที่ 6 ผู้ทรงปัญญากับซันชาแห่งกัสติยา
คอนสแตนซ์แห่งตูลูส
1195
ไม่มีรัชทายาท
เคลเมนซ์(แห่งโฮเฮินสตาเฟน?)
aft. 1201
1 พระองค์
7 เมษายน 1234
ทูเดลา

ราชวงศ์ชองปาญ, 1234–1284 แก้

การสวรรคตของพระเจ้าซานโชที่ 7 กษัตริย์แห่งราชวงศ์ฆิเมเนสพระองค์สุดท้าย นำไปสู่การเปลี่ยนมือซึ่งราชสมบัติไปยังพระโอรสในพระขนิษฐาแห่งพระองค์ บลังกา, เคานท์เตสแห่งชองปาญ พระองค์ทรงสำเร็จราชการในบางส่วนของรัชกาลแห่งพระเชษฐาพระองค์

พระนาม พระบรมฉายาทิสลักษณ์ ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
เธโอบอลโดที่ 1 ผู้กำเนิดหลังมรณกรรมบิดา
1234–1253
  30 พฤษภาคม 1201
ทรัวส์
พระโอรสในเธโอบอลด์ที่ 3กับบลองกาแห่งนาวาร์
เกอร์ทูดแห่งดักส์บูร์ก
1220
ไม่มีรัชทายาท
แอ็กเนสแห่งโบเฌอ
1222
1 พระองค์
มาร์กาเร็ตแห่งบูร์บง
1232
6 พระองค์
8 กรกฎาคม 1253
ปัมโปลนา
พระชนมายุ 52
เธโอบอลโดที่ 2 ผู้เยาว์
1253–1270
  1238
พระราชโอรสในเธโอบอลโดที่ 1กับมาร์กาเร็ต
อีซาแบลแห่งฝรั่งเศส
6 เมษายน 1255
ไม่มีรัชทายาท
4 ธันวาคม 1270
ทราปานี
พระชนมายุ 32
เอนริเกที่ 1 ผู้อ้วนท้วม
1270–1274
  1244
พระราชโอรสในเธโอบอลโดที่ 1กับมาร์กาเร็ต
บล็องช์แห่งอาร์ตัวส์
1269
2 พระองค์
22 กรกฎาคม 1274
พระชนมายุ 30
ฆัวนาที่ 1
1274–1305
  14 มกราคม 1271
บาร์-ซูร์-แซน
พระราชธิดาในเอนริเกที่ 1กับบล็องช์แห่งอาร์ตัวส์
พระเจ้าฟีลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
16 สิงหาคม 1284
7 พระองค์
4 เมษายน 1305
ปราสาทแว็งแซนน์
พระชนมายุ 34

ราชวงศ์กาเปเตียง, 1284–1441 แก้

ราชวงศ์กาเปต์, 1284–1349 แก้

เอนริเกสวรรคตอย่างกระทันหันโดยทิ้งราชสมบัติให้พระธิดาทารก ฆัวนา ในฐานะรัชทายาทพระองค์เดียวในราชสมบัติ พระชนนี บลองช์แห่งอาร์ตัวส์สำเร็จราชการแทน 10 ปี ค.ศ. 1284 ฆัวนาอภิเษกสมรสกับว่าที่พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส เป็นการสิ้นสุดความเป็นผู้สำเร็จราชการของพระนางบลองช์ ฟิลิปเสด็จขึ้นครองราชในปีถัดมาในฐานะ "กษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์" อนึ่งพระนามในรายชื่อด้านล่างจะถอดเสียงตามภาษาสเปน

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
เฟลิเปที่ 1 ผู้รูปงาม
(jure uxoris)
ฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
1284–1305
  1268
ฟงเตนโบล
พระราชโอรสในพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศสกับอิซาเบลลาแห่งอารากอน
สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาที่ 1
16 August 1284
7 พระองค์
29 พฤศจิกายน 1314
ฟงเตนโบล
พระชนมายุ 46
ลุยส์ที่ 1 ผู้วิวาท
หลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส
1305–1316
  4 ตุลาคม 1289
ปารีส
พระราชโอรสในพระเจ้าเฟลิเปที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาที่ 1
มาร์กาเร็ตแห่งบูร์กอญ
21 กันยายน 1305
1 พระองค์
เคลเมนเทียแห่งฮังการี
19 สิงหาคม 1315
1 พระองค์
5 มิถุนายน 1316
แวงแซน
พระชนมายุ 26
ฆวนที่ 1 ผู้กำเนิดหลังสิ้นพระบิดา
ฌองที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
1316
  15 พฤศจิกายน 1316
ปารีส
พระราชโอรส พระเจ้าลุยส์ที่ 1กับเคลมองเทียแห่งฮังการี
มิได้อภิเษกสมรส 20 พฤศจิกายน 1316
ปารีส
พระชนมายุ 5 วัน
เฟลิเปที่ 2 ผู้สูงใหญ่
ฟิลิปที่ 5 แห่งฝรั่งเศส
1316–1322
  1292
ลียง
พระราชโอรสในพระเจ้าเฟลิเปที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาที่ 1
ฌานที่ 2 เคาน์เตสแห่งบูร์กอญ
1307
7 พระองค์
3 มกราคม 1322
ลงชองป์
พระชนมายุ 29
การ์โลสที่ 1 ผู้รูปงาม
ชาร์ลส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
1322–1328
  19 June 1294
แคลร์มงต์
พระราชโอรสในพระเจ้าเฟลิเปที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาที่ 1
บล็องช์แห่งบูร์กอญ
1307
2 พระองค์
มารีแห่งลักเซมเบิร์ก
1322
2 พระองค์
ฌานแห่งเอเวรอซ์
1325
3 พระองค์
1 กุมภาพันธ์ 1328
แวงแซน
พระชนมายุ 34
ฆัวนาที่ 2
1328–1349
  28 มกราคม 1312
ชารองตง-เลอ-ปงต์
พระราชธิดาในพระเจ้าลุยส์ที่ 1กับมาร์กาเร็ตแห่งบูร์กอญ
ฟิลิปที่ 3 แห่งนาวาร์
8 พระองค์
6 ตุลาคม 1349
ชารองตง-เลอ-ปงต์
พระชนมายุ 37

ราชวงศ์เอเวรอซ์, 1328–1441 แก้

หลังการสวรรคตของพระเจ้าลุยส์ และพระโอรสคือพระเจ้าฆวน พระอนุชาทั้งสองพระองค์ในพระเจ้าลุยส์รับราชสมบัติเป็นกษัตริย์ฝรั่งเศสนาวาร์สืบมากระทั่งสวรรคต เวลานั้นราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตกแก่ฟิลิปแห่งวาลัวส์ พระญาติที่มิได้สืบเชื้อสายจากพระนางฆัวนาที่ 1, ส่วนราชบัลลังก์แห่งนาวาร์ได้ส่งต่อไปยังพระธิดาในพระเจ้าลุยส์คือพระนางฆัวนาที่ 2 โดยทรงปกครองร่วมกับพระสวามี จนพระสวามีสิ้นพระชนม์ และปกครองโดยลำพังจนกระทั่งพระนางสวรรคต

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
เฟลิเปที่ 3 ผู้เรืองปัญญา
(jure uxoris)
1328–1343
  27 มีนาคม 1306
พระโอรสในหลุยส์ เคานท์แห่งเอเวอรอซ์กับมาร์กาเร็ตแห่งอาร์ตัวส์
ฆัวนาที่ 2 แห่งนาวาร์
8 พระองค์
16 กันยายน 1343
เฌอเรซ์ เดอลา ฟรงเตรา
พระชนมายุ 37
การ์โลสที่ 2 ผู้เลวร้าย
1349–1387
  10 ตุลาคม 1332
เอเวรอซ์
พระราชโอรสในเฟลิเปที่ 2 กับฆัวนาที่ 2
ฌานแห่งฝรั่งเศส
7 พระองค์
1 มกราคม 1387
ปัมโปลนา
พระชนมายุ 54
การ์โลสที่ 3 ผู้สูงส่ง
1387–1425
  22 กรกฎาคม 1361
นองต์
พระราชโอรสใน การ์โลสที่ 2กับฌานแห่งฝรั่งเศส
เอเลนอร์แห่งกัสติยา
1375
8 พระองค์
8 กันยายน 1425
โอลีต
พระชนมายุ 64
บลองกาที่ 1
1425–1441
  1387
กัสติยา
พระราชธิดาในพระเจ้าการ์โลสที่ 2กับเอเลนอร์แห่งกัสติย
มาร์ตินที่ 1 แห่งซิซิลี
26 ธันวาคม 1402
1 พระองค์
ฆวนที่ 2 แห่งอารากอน
10 มิถุนายน 1420
4 พระองค์
3 เมษายน 1441
ซานตา มารีอา ลา รีอาล เด นีเอบา
พระชนมายุ 56

ราชวงศ์ตรัสตามารา, 1425–1479 แก้

พระนางบลองกาที่ 1 ทรงราชย์ร่วมกับพระสวามีคือพระเจ้าฆวนที่ 2 ในค.ศ. 1458, ฆวนได้รับราชสมบัติอารากอนจากพระเชษฐาผู้วายชนม์ในเวลาต่อมา พระราชบัลลังก์แห่งนาวาร์ ถูกส่งต่อให้กับพระนางเอเลนอร์, พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวที่ยังมีพระชนม์อยู่ของทั้งสองพระองค์ ขณะที่พระราชบัลลังก์แห่งอารากอนถูกส่งต่อไปยัง พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน, พระราชโอรสใน พระเจ้าฆวนที่ 2 กับพระชายาพระองค์ที่สอง ฆัวนา เอนริเกซ

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
ฆวนที่ 2 มหาราช
1425–1441 (jure uxoris)
1425–1479 (de facto)
  29 มิถุนายน 1397
เมดีนา เดล กัมโป
พระราชโอรสในพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 1กับเอเลนอร์แห่งอัลเบอร์เกอร์ก
บลองกาที่ 1 แห่งนาวาร์
6 พฤศจิกายน 1419
4 พระองค์
ฆัวนา เอนริเกซ
2 พระองค์
20 มกราคม 1479
บาร์เซโลนา
พระชนมายุ 81
เอเลนอร์
1479
2 กุมภาพันธ์ 1425
โอลีท
พระราชธิดาใน ฆวนที่ 2กับบลองกาที่ 1
กาสตงที่ 4 เคานต์แห่งฟัวซ์
11 พระองค์
12 กุมภาพันธ์ 1479
ทูเดลา
พระชนมายุ 54

กษัตริย์และพระราชินีผู้โต้แย้งสิทธิ แก้

หลังพระนางบลองกาสวรรคต ค.ศ. 1441, พระเจ้าฆวนยังเป็นกษัตริย์นาวาร์อยู่จนกระทั่งสวรรคตใน 38 ปีหลังจากนั้น, เพื่อปกป้องจากพระราชโอรสและพระราชธิดาพระองค์ใหญ่การ์โลส และ บลองกา ความขัดแย้ง กับพระราชโอรสของพระองค์นำไปสู่ สงครามกลางเมืองนาวาร์ แม้ว่าบางแหล่งข้อมูลจะถือว่า การ์โลสและบลองกาเป็นประมุขที่ชอบโดยกฎหมายแต่พระมหากษัตริย์ โดยพฤตินัย ก็ยังคงเป็นพระเจ้าฆวนที่ 2 เอเลนอร์มิได้อ้างสิทธิเป็นสมเด็จพระราชินีนาถจนกระทั่งพระราชบิดาสวรรคต

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
การ์โลสที่ 4
1441–1461 (de jure, titular)
  29 พฤษภาคม 1421
เปญาเฟียล
พระราชโอรสใน ฆวนที่ 2กับบลองกาที่ 1
แอกเนสแห่งคลีฟ
ไม่มีรัชทายาท
23 กันยายน 1461
บาร์เซโลนา
พระชนมายุ 40
บลองกาที่ 2
1461–1464 (de jure, titular)
  1424
โอลีท
พระราชธิดาในฆวนที่ 2กับบลองกาที่ 1
เอนริเกที่ 4 แห่งกัสติยา
ไม่มีรัชทายาท
2 ธันวาคม 1464
ออร์เตส
พระชนมายุ 40

ราชวงศ์ฟัวซ์, 1479–1517 แก้

เอเลนอร์, ผู้ซึ่งเป็นพันธมิตรกับพระราชบิดาเพื่อต่อต้านพระเชษฐาและพระเชษฐภคินี สวรรคตหลังพระราชบิดาเพียง 3 สัปดาห์ พระนางเป็นพระชายาม่ายในกาสตงที่ 4 เคานท์แห่งฟัวซ์, และพระโอรสองค์ใหญ่ของพระนางกาสตงแห่งฟัวซ์ เจ้าชายแห่งวิอานาก็สิ้นพระชนม์ พระนางจึงส่งต่อพระราชบัลลังก์ให้พระนัดดา ฟรองซัวส์ (หรือฟรังซิสโกในภาษาสเปน)

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
ฟรังซิสโก โฟบุส
1479–1483
  12 เมษายน 1467
พระโอรสในกาสตงแห่งฟัวซ์ เจ้าชายแห่งวิอานากับแมกดาเลนาแห่งวาลัวส์
มิได้อภิเษกสมรส 12 กุมภาพันธ์ 1483
โป
พระชนมายุ 16
แคทเธอรีน
1483–1517
  1468
พระธิดาในกาสตงแห่งฟัวซ์ เจ้าชายแห่งวิอานากับแมกดาเลนาแห่งวาลัวส์
ฆวนที่ 3 แห่งนาวาร์
13 พระองค์
12 กุมภาพันธ์ 1517
มงต์-เดอ-มาร์ซอง
พระชนมายุ 49

ราชวงศ์อัลเบรท์, 1484–1513 แก้

แคทเธอรีนครองราชย์ร่วมกับพระสวามี พระเจ้าฆวนที่ 3 เมื่อพระเจ้าฆวนสวรรคต พระนางแคทเธอรีนครองราชย์ต่อมาอีก 8 เดือนก็สวรรตต รัชกาลนี้ นาวาร์ปราชัยโดยพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน ค.ศ. 1512, เป็นเหตุให้เสียดินแดนทางใต้ของทิวเขาปิเรนิส,รวมถึงราชธานีคือปัมโปลนาด้วย พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฆวนที่ 2 กับพระชายาองค์ที่ 2 และเป็นพระอนุชาต่างพระชนนีในพระนางเอเลนอร์ ผู้เป็นพระอัยยิกาในพระนางแคทเธอรีน พระเจ้าเฟร์นันโดได้รับราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์นาวาร์และทำให้สายนี้ถูกรวมกับตำแหน่งพระมหากษัตริย์อารากอนกับสเปน พระนางแคทเธอรีนและพระเจ้าฆวนหนีไปยังนาวาร์ล่าง, ซึ่งเป็นส่วนเล็ก ๆ ของอดีตราชอาณาจักรอันอยู่ตอนบนของทิวเขาปิเรนิส ที่ซึ่งถูกรวมกับกับดินแดนอื่น ๆ ในฝรั่งเศสซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของพวกเขา

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
ฆวนที่ 3
(jure uxoris)
1484–1513 (1516)[1]
  1469
พระโอรสในอแลงที่ 1 แห่งอัลเบรท์ กับฟรองซวสซ์ แห่งชาติญง-ลิมอช
สมเด็จพระราชินีนาถแคทเธอรีนแห่งนาวาร์
13 พระองค์
14 มิถุนายน 1516
โป
พระชนมายุ 47

ราชวงศ์ตรัสตามารา, 1513-1516 แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 1
1513–1516[2]
  1452
พระราชโอรสใน พระเจ้าฆวนที่ 2กับฆัวนา เอนริเกซ
สมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบลที่ 1 แห่งกัสติยา
5 พระองค์
23 มกราคม 1516
มาดริกาเลโฆ
พระชนมายุ 63

นาวาร์ล่าง แก้

ค.ศ. 1530, พระเจ้าการ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ตัดสินใจ ตัดสินใจที่จะยกเลิกการยึดครองนาวาร์ล่างอย่างแน่นอนต่อความเป็นไปไม่ได้ในการควบคุม[3][4], ทำให้นาวาร์ล่างปกครองโดยพระเจ้าเอนริกที่ 2, ขณะที่พระเจ้าการ์โลสที่ 1 แห่งสเปนกับพระชนนีสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาที่ 3 ยังคงปกครองนาวาร์บน

ราชวงศ์อัลเบรท์, 1513–1572 แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
เอนริเกที่ 2
(1517)[5] 1530–1555
  18 เมษายน 1503
ซองเกอซา
พระราชโอรสในพระเจ้าฆวนที่ 3 แห่งนาวาร์กับพระนางแคทเธอรีนแห่งนาวาร์
มาร์กาเร็ตแห่งอองกูแลม
1526
2 พระองค์
25 พฤษภาคม 1555
อาเฌโม
พระชนมายุ 52
ฆัวนาที่ 3
1555–1572
  16 พฤศจิกายน 1528
แซงต์-แฌร์แมง-ออง-ไล
พระราชธิดาในพระเจ้าเอนริเกที่ 2กับมาร์กาเร็ตแห่งอองกูแลม
พระเจ้าอองตวนแห่งนาวาร์
20 ตุลาคม 1548
5 พระองค์
9 มิถุนายน 1572
ปารีส
พระชนมายุ 43

ราชวงศ์บูร์บง, 1572–1620 แก้

ฆัวนาที่ 3 ทรงราชย์ร่วมกับพระสวามี อองตวน จนพระสวามีสวรรคตและทรงราชย์ต่อโดยลำพังจนสวรรคต พระราชโอรสของทั้ง 2 คือเอนริเก (อองรี) เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1589, เข้าครอบคาองราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1593 ในการที่สงครามศาสนาในฝรั่งเศสใกล้สิ้นสุดลง ต่อมามงกุฎแห่งนาวาร์ถูกส่งต่อไปยังพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ค.ศ. 1620 ราชอาณาจักรจึงถูกรวมกับฝรั่งเศส อย่างไรก็ตาม พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสยังคงใช้พระอิสริยยศ พระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ กระทั่ง ค.ศ. 1791 และถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งระหว่างค.ศ. 1814 - ค.ศ. 1830 ในช่วงการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง.

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
อองตวน
(jure uxoris)
1555–1562
  22 เมษายน 1518
ลาแฟร์, ปิการ์ดี
พระโอรสในชาร์ลส์, ดยุคแห่งวองโดม, และ ฟรองซวสแห่งอาลองซง
ฆัวนาที่ 3 แห่งนาวาร์
20 ตุลาคม 1548
5 พระองค์
17 พฤศจิกายน 1562
เลซองเดอลีส์, อูร์
พระชนมายุ 44
เอนริเกที่ 3 มหาราช
อองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
1572–1610
  13 ธันวาคม 1553
โป
พระราชโอรสในพระเจ้าอองตวนกับฆัวนาที่ 3 แห่งนาวาร์
(1) มาร์กาเร็ตแห่งวาลัวส์
18 สิงหาคม 1572
ไม่มีรัชทายาท
(2) มารี เดอ เมดิชี
17 ธันวาคม 1600
6 พระองค์
14 พฤษภาคม 1610
ปารีส
พระชนมายุ 56
ลุยส์ที่ 2 ผู้เที่ยงธรรม
หลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส
1610–1620
  27 กันยายน 1601
ปราสาทฟงเตนโบล
พระราชโอรสในพระเจ้าเอนริเกที่ 3กับมารี เดอ เมดิชี
อานน์แห่งออสเตรีย
24 พฤศจิกายน 1615
6 พระองค์
14 พฤษภาคม 1643
ปารีส
พระชนมายุ 41

พระมหากษัตริย์และผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ แก้

ราชวงศ์บูร์บง, 1620-1883 แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
หลุยส์ที่ 2 (หลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส)
1610—1620
  27 กันยายน 1601
ปราสาทฟงเตโบล
พระราชโอรสในพระเจ้าอองรีกับมารี เดอ เมดิชี่
อานน์แห่งออสเตรีย
24 พฤศจิกายน 1615
6 พระองค์
14 พฤษภาคม 1643
ปารีส
พระชนมายุ 41
หลุยส์ที่ 3 (หลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส)
1634-1715
  5 กันยายน 1638
ปราสาทแซงต์-แฌร์แมง-ออง-ลาย
พระราชโอรสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 2กับอานน์แห่งออสเตรีย
มารี เทเรสแห่งสเปน
3 มิถุนายน 1660
5 พระองค์

ฟรองซวสแห่งโอบิเญ
ไม่มีรัชทายาท
1 กันยายน 1715
พระราชวังแวร์ซายส์
พระชนมายุ 76
หลุยส์ที่ 4 (หลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส)
1715-1774
  15 กุมภาพันธ์ 1710
พระราชวังแวร์ซายส์
พระราชโอรสในหลุยส์ โดแฟงแห่งฝรั่งเศสกับมารี-อเดลีดแห่งซาวอย
มารี เลซไซน์สกา
4 กันยายน 1725
11 พระองค์
10 พฤษภาคม 1774
พระราชวังแวร์ซายส์
พระชนมายุ 64
หลุยส์ที่ 5 (หลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส)
1774-1793
  23 สิงหาคม 1754
พระราชวังแวร์ซายส์
พระราชโอรสในหลุยส์ โดแฟงแห่งฝรั่งเศสกับมารี-โฌแซฟแห่งแซ็กโซนี
มารี อองตัวแนตแห่งออสเตรีย
16 พฤษภาคม 1770
4 พระองค์
21 มกราคม 1793
ปารีส
พระชนมายุ 38
หลุยส์ที่ 6
1793-1795
  27 มีนาคม 1785
พระราชวังแวร์ซายส์
พระราชโอรสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 5กันมารี อองตัวแนต
มิได้อภิเษกสมรส 8 มิถุนายน 1795
หอคอยตองเปลอ ปารีส
พระชนมายุ 10

ฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
หลุยส์ที่ 7
หลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส
(1) 1814–1815
(2) 1815–1824
  9 ตุลาคม 1757
พระราชวังแวร์ซายส์
พระราชโอรสในหลุยส์ โดแฟงแห่งฝรั่งเศสกับมารี-โฌแซฟแห่งแซ็กโซนี
มารี-โฌเซฟินแห่งซาวอย
14 พฤษภาคม 1771
ไม่มีรัชทายาท
16 กันยายน 1824
ปารีส, ราชอาณาจักรฝรั่งเศส
พระชนมายุ 68
ชาร์ลส์ที่ 5
ชาร์ลส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส
1824-1830
  17 พฤศจิกายน 1755
พระราชวังแวร์ซายส์
พระราชโอรสในหลุยส์ โดแฟงแห่งฝรั่งเศสกับมารี-โฌแซฟแห่งแซ็กโซนี
มาเรีย เทเรซ่าแห่งซาวอย
16 พฤศจิกายน 1773
4 พระองค์
6 พฤศจิกายน 1836
กอริเซีย, จักรวรรดิออสเตรีย
พระชนมายุ 79
หลุยส์ที่ 8
หลุยส์ที่ 19 แห่งฝรั่งเศส
2 สิงหาคม 1830
  6 สิงหาคม 1775
พระราชวังแวร์ซายส์
พระราชโอรสใน พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 5 และ มาเรีย เทเรซ่าแห่งซาวอย
มารี แตเรซแห่งฝรั่งเศส
10 มิถุนายน 1799
ไม่มีรัชทายาท
3 มิถุนายน 1844
กอริเซีย, จักรวรรดิออสเตรีย
พระชนมายุ 68
อองรีที่ 4
อองรีที่ 5 แห่งฝรั่งเศส
2–9 สิงหาคม 1830
  29 กันยายน 1820

พระราชวังตุยเลอรี พระโอรสใน เจ้าชายชาร์ลส์ เฟอร์ดินานด์ ดยุคแห่งแบร์รี และ เจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งเนเปิลส์และซิซิลี

มารี แตเรซแห่งออสเตรีย เอสต์7 พฤศจิกายน 1846

ไม่มีรัชทายาท

24 สิงหาคม 1883

Schloss Frohsdorf พระชนมายุ 63

ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์นาวาร์ แก้

พระเจ้าอองรีที่ 4 สิ้นพระชนม์โดยปราศจากรัชทายาทใน ค.ศ. 1883 การอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและนาวาร์แยกจากกัน สิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสถูกส่งต่อไปยัง ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสสายเลชีตีมีสต์ ขณะที่สิทธิในราชบัลลังก์นาวาร์ตกแก่ โรเบิร์ตที่ 1 ดยุคแห่งปาร์มา พระโอรสในเจ้าหญิงหลุยส์ มารี แตเรซแห่งอาร์ตัว ดัชเชสม่ายแห่งปาร์มา พระเชษฐภคินีในพระเจ้าอองรีที่ 4

ราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สิ้นพระชนม์
โรเบิร์ตที่ 1
ดยุคแห่งปาร์มา
1883-1907
  9 กรกฎาคม 1848
ฟลอเรนซ์
พระโอรสใน ชาร์ลส์ที่ 3, ดยุคแห่งปาร์มาและ เจ้าหญิงหลุยส์ มารี แตเรซแห่งฝรั่งเศส
เจ้าหญิงมาเรีย ปิอาแห่งซิซิลีทั้งสอง
12 พระองค์

มาเรีย แอนโทเนียแห่งโปรตุเกส
12 พระองค์
16 พฤศจิกายน 1907
เวียเรกจิโอ
พระชนมายุ 59
เอนริเกที่ 5
1907-1939
  13 มิถุนายน 1873
วาร์เท็ก
พระโอรสใน โรเบิร์ตที่ 1, ดยุคแห่งปาร์มา และ เจ้าหญิงมาเรีย ปิอาแห่งซิซิลีทั้งสอง
มิได้อภิเษกสมรส 16 พฤศจิกายน 1939
เปียโนเร
พระชนมายุ 66
โคเซ
1939-1950
  30 มิถุนายน 1875
Biarritz
พระโอรสใน โรเบิร์ตที่ 1, ดยุคแห่งปาร์มา และ เจ้าหญิงมาเรีย ปิอาแห่งซิซิลีทั้งสอง
มิได้อภิเษกสมรส 7 มกราคม 1950
เปียโนเร
พระชนมายุ 74
เอเลียส
1950-1959
  23 กรกฎาคม 1880
Biarritz
พระโอรสใน โรเบิร์ตที่ 1, ดยุคแห่งปาร์มา และ เจ้าหญิงมาเรีย ปิอาแห่งซิซิลีทั้งสอง
มาเรีย อานาแห่งออสเตรีย
เวียนนา
8 พระองค์
27 มิถุนายน 1959
ฟรีดแบร์ก สตีเรีย
พระชนมายุ 79
โรแบร์โต อูโก้
1959-1974
- 7 สิงหาคม 1909
Weilburg
พระโอรสในเจ้าชายเอเลียสและมาเรีย อานาแห่งออสเตรีย
มิได้อภิเษกสมรส 25 พฤศจิกายน 1974
เวียนนา
พระชนมายุ 65
เอลิซาเบตตา
1974-1983
- 17 มีนาคม 1904
พระธิดาในเจ้าชายเอเลียสและมาเรีย อานาแห่งออสเตรีย
มิได้อภิเษกสมรส 13 มิถุนายน 1983
พระชนมายุ 79
มาเรีย ฟรานเซสกา
1983-1994
- 5 กันยายน 1906
พระธิดาในเจ้าชายเอเลียสและมาเรีย อานาแห่งออสเตรีย
มิได้อภิเษกสมรส 20 กุมภาพันธ์ 1994
พระชนมายุ 87
อลิซ
1994-2017
  13 พฤศจิกายน 1917
เวียนนา
พระธิดา ในเจ้าชายเอเลียสและมาเรีย อานาแห่งออสเตรีย
อินฟันเต้อัลฟอนโซ, ดยุคแห่งคาลาเบรีย
3 พระองค์
28 มีนาคม 2017
มาดริด
พระชนมายุ 99
เปโดรที่ 2
2017-
- 16 ตุลาคม 1968
เวียนนา
พระโอรสในคาร์ลอส ดยุคแห่งกาลาเบรียและอานน์แห่งออร์เลอองส์
เจ้าหญิงโซเฟีย ดัชเชสแห่งกาลาเบรีย
7 พระองค์
ยังมีพระชนม์

นาวาร์บน แก้

ราชวงศ์ตรัสตามารา, 1516-1555[6] แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
ฆัวนาที่ 3
1516-1555
  6 พฤศจิกายน 1479
พระราชธิดาใน พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 1กับสมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบลลาที่ 1 แห่งกัสติยา
เฟลิเปที่ 1 แห่งกัสติยา
6 พระองค์
12 เมษายน 1555
ตอร์เดซิลัส
พระชนมายุ 75

ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก, 1516-1700 แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
การ์โลสที่ 4
1516-1556[7]
  24 กุมภาพันธ์ 1500
พระราชโอรสในเฟลิเปที่ 1 แห่งกัสติยากับฆัวนาที่ 3 แห่งนาวาร์
อิซาเบลแห่งโปรตุเกส
3 พระองค์
21 กันยายน 1558
ยุสเต
พระชนมายุ 58
เฟลิเปที่ 4
1556-1598
  21 พฤษภาคม 1527
พระราชโอรสในการ์โลสที่ 4 กับ อิซาเบลแห่งโปรตุเกส
มาเรีย มานูเอลาแห่งโปรตุเกส
1 พระองค์
เอลิซาเบธแห่งวาลัวส์
2 พระองค์
แอนนาแห่งออสเตร่ย
3 พระองค์
13 กันยายน 1598
เอสโกเรียล
พระชนมายุ 71
เฟลิเปที่ 5
1598-1621
14 เมษายน 1578
พระราชโอรสในเฟลิเปที่ 4กับแอนนาแห่งออสเตรีย
มาร์กาเร็ตแห่งออสเตรีย
5 พระองค์
31 มีนาคม 1621
มาดริด
พระชนมายุ 42
เฟลิเปที่ 6
1621-1665
8 เมษายน 1605
พระราชโอรสในเฟลิเปที่ 5กับมาร์กาเร็ตแห่งออสเตรีย
เอลิซาเบธแห่งบูร์บง
2 พระองค์
มาเรียนาแห่งออสเตรีย
2 พระองค์
17 กันยายน 1665
มาดริด
พระชนมายุ 60
การ์โลสที่ 5
1665-1700
6 พฤศจิกายน 1661
พระราชโอรสใน เฟลิเปที่ 6 กับ มาเรียนาแห่งออสเตรีย
มารี หลุยส์แห่งออร์เลอองส์
ไม่มีรัชทายาท
มาเรีย แอนนาแห่งนอยบูร์ก
ไม่มีรัชทายาท
1 พฤศจิกายน 1700
มาดริด
พระชนมายุ 38

ราชวงศ์บูร์บง, 1700-1833 แก้

พระนาม พระรูป ประสูติ อภิเษกสมรส สวรรคต
เฟลิเปที่ 7[8]
1700-1724
19 ธันวาคม 1683
พระราชโอรสในเจ้าชายหลุยส์โดแฟงแห่งฝรั่งเศสกับมาเรีย อันนา วิตอเรียแห่งบาวาเรีย
มาเรีย ลุยซาแห่งซาวอย
2 พระองค์
เอลิซาเบธ ฟาร์เนส
6 พระองค์
9 กรกฎาคม 1746
มาดริด
พระชนมายุ 62
ลุยส์ที่ 2[8]
1724
25 สิงหาคม 1707
พระราชโอรสในเฟลิเปที่ 7กับมาเรีย ลุยซาแห่งซาวอย
หลุยส์ เอลิซาเบธแห่งออร์เลอองส์
ไม่มีรัชทายาท
31 สิงหาคม 1724
มาดริด
พระชนมายุ 17
เฟลิเปที่ 7[8]
1724-1746
19 ธันวาคม 1683
พระราชโอรสในเจ้าชายหลุยส์โดแฟงแห่งฝรั่งเศสกับมาเรีย อันนา วิตอเรียแห่งบาวาเรีย
มาเรีย ลุยซาแห่งซาวอย
2 พระองค์
เอลิซาเบธ ฟาร์เนส
6 พระองค์
9 กรกฎาคม 1746
มาดริด
พระชนมายุ 62
เฟร์นันโดที่ 2
1746-1759
23 กันยายน 1713
พระราชโอรสในเฟลิเปที่ 7 กับ มาเรีย ลุยซาแห่งซาวอย
บาร์บาราแห่งโปรตุเกส
ไม่มีรัชทายาท
10 สิงหาคม 1759
มาดริด
พระชนมายุ 45
การ์โลสที่ 6[9][10]
1759-1789
20 มกราคม 1716
พระราชโอรสในเฟลิเปที่ 7กับเอลิซาเบธ ฟาร์เนส
มาเรีย อาเมเลียแห่งแซ็กโซนี
13 พระองค์
14 ธันวาคม 1788
มาดริด
พระชนมายุ 72
การ์โลสที่ 7[11][12]
1789-1808
11 พฤศจิกายน 1748
พระราชโอรสในการ์โลสที่ 6 กับ มาเรีย อาเมเลียแห่งแซ็กโซนี
มาเรีย ลุยซาแห่งปาร์มา
14 พระองค์
20 มกราคม 1819
มาดริด
พระชนมายุ 70
เฟร์นันโดที่ 3[13]
1808-1833
  14 ตุลาคม 1784
พระราชโอรสในการ์โลสที่ 7 กับ มาเรีย ลุยซาแห่งปาร์มา
มาเรีย แอนโทเนียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี
No children
มาเรีย อิซาเบลแห่งโปรตุเกส
2 พระองค์
มาเรีย โจเซฟา อาเม้ลียแห่งแซ็กโซนี
ไม่มีรัชทายาท
มาเรีย คริสติน่า แห่งซิซิลีทั้งสอง
2 พระองค์
29 กันยายน 1833
มาดริด
พระชนมายุ 48

อ้างอิง แก้

  1. ค.ศ. 1513 พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 1 แห่งนาวาร์พิชิตราชอาณาจักร
  2. "Fernando I de Navarra". Auñamendi Eusko Entziklopledia.
  3. Miranda, José María Yanguas y (1840). Diccionario de antigüedades del reino de Navarra (ภาษาสเปน). J. Goyeneche.
  4. Unzué, José Luis Orella; Estévez, Xosé; Espinosa, José María Lorenzo (1995). Historia de Euskal Herria: Del hierro al roble (ภาษาสเปน). Txalaparta. ISBN 9788481369472.
  5. Titular King of Navarre, the kingdom was occupied
  6. Fernández, Luis Suárez (1990). Los reyes católicos: el camino hacia Europa (ภาษาสเปน). Ediciones Rialp. ISBN 9788432125898.[ลิงก์เสีย]
  7. Muniáin, Pedro Esarte (2001-01-01). Navarra, 1512-1530: conquista, ocupación y sometimiento militar, civil y eclesiástico (ภาษาสเปน). Pamiela. ISBN 9788476813409.
  8. 8.0 8.1 8.2 Navarra (1752). Quaderno de las leyes, y agravios reparados a suplicacion de los tres Estados del Reyno de Navarra, en las Cortes de los años de 1724, 1725 y 1726 por la Mag. Real del Señor Rey don Luis II. de Navarra, y I. de Castilla: (que santa gloria aya) Y por su muerte se continuaron por la Mag. Real del Señor Rey Don Phelipe VII. de Navarra , y V. de Castilla, nuestro Señor. y en su nombre por el Exmo. Señor Fr. Don M Christoval de Moscoso...: con acuerdo de los del Consejo Real que con el assistieron dichos años de 1724, 25 y 26 en las Cortes Generales, que se han celebrado en la Ciudad de Estella (ภาษาสเปน). por Pedro Joseph Ezquerro.
  9. Navarra (1766). Quaderno de las leyes y agravios reparados a suplicacion de los tres estados del Reyno de Navarra en sus Cortes Generales celebradas en la ciudad de Pamplona los años 1765 y 1766 por la Magestad del Señor Rey don Carlos VI de Navarra y III de Castilla... (ภาษาสเปน). en la imprenta de don Pascual Ibañez.
  10. "Gran Enciclopedia de Navarra | CARLOS VI DE NAVARRA Y III DE CASTILLA". www.enciclopedianavarra.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-27. สืบค้นเมื่อ 2017-12-27.
  11. Navarra (1797). Quaderno de las leyes y agravios reparados a suplicacion de los tres estados del Reyno de Navarra en sus Cortes Generales celebradas en la ciudad de Pamplona los años 1794, 1795, 1796 y 1797 por la Magestad del Señor Rey don Carlos VII. de Navarra y IV. de Castilla, nuestro Señor (ภาษาสเปน). en la imprenta de don Miguel Coscuella.
  12. "Gran Enciclopedia de Navarra | CARLOS VII DE NAVARRA Y IV DE CASTILLA". www.enciclopedianavarra.com. สืบค้นเมื่อ 2017-12-27.
  13. Navarra (1819). Cuaderno de las leyes y agravios reparados a suplicación de los tres estados del Reino de Navarra. Imprenta de Longaslanguage=es.