สันนิบาตอาหรับ
สันนิบาตอาหรับ (อาหรับ: الجامعة العربية; อังกฤษ: Arab League) มีชื่อทางการว่า สันนิบาตรัฐอาหรับ (جامعة الدول العربية; League of Arab States) คือองค์การภูมิภาคในโลกอาหรับ ซึ่งกินขอบเขตของแอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกาตะวันออก และเอเชียตะวันตก สันนิบาตอาหรับได้รับการจัดตั้งขึ้นที่ไคโรเมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1945 โดยมีสมาชิกแรกเริ่ม 6 ประเทศ: อียิปต์, อิรัก, ทรานส์จอร์แดน (เปลี่ยนชื่อเป็นจอร์แดนใน ค.ศ. 1949), เลบานอน, ซาอุดีอาระเบีย และซีเรีย[3] ปัจจุบัน สันนิบาตมีสมาชิก 22 ประเทศ
สันนิบาตรัฐอาหรับ جامعة الدول العربية | |
---|---|
รัฐสมาชิกอยู่ในสีเขียวเข้ม; รัฐสมาชิกที่ถูกระงับอยู่ในสีเขียวอ่อน | |
ศูนย์บริหาร | ไคโร ประเทศอียิปต์ |
ภาษาราชการ | |
เดมะนิม | ชาวอาหรับ |
ประเภท | องค์กรระดับภูมิภาค |
สมาชิก | |
ผู้นำ | |
อะห์มัด อะบูลฆ็อยฏ์ | |
อะลี อัดดักบาซี | |
ซูดาน | |
สภานิติบัญญัติ | รัฐสภาอาหรับ |
ก่อตั้ง | |
22 มีนาคม ค.ศ. 1945 | |
พื้นที่ | |
• พื้นที่รวม | 13,132,327 ตารางกิโลเมตร (5,070,420 ตารางไมล์) (ที่ 2) |
ประชากร | |
• 2018 ประมาณ | 406,700,000[1] (ที่ 3) |
27.17 ต่อตารางกิโลเมตร (70.4 ต่อตารางไมล์) | |
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2021 (ประมาณ) |
• รวม | 2.7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] (ที่ 8) |
• ต่อหัว | 6,600 ดอลลาร์สหรัฐ |
สกุลเงิน | |
เขตเวลา | UTC+0 ถึง +4 |
เว็บไซต์ www | |
|
เป้าหมายหลักของสันนิบาตคือ "กระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมาชิกให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นและประสานความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อปกป้องเอกราชและอธิปไตย และพิจารณากิจการและผลประโยชน์ของประเทศอาหรับในแนวทางทั่วไป"[4] แต่องค์กรได้รับความร่วมมือในระดับค่อนข้างต่ำมาตลอดทั้งประวัติศาสตร์[5]
สมาชิก
แก้ตนแรกเริ่มใน ค.ศ. 1945 มีสมาชิกเพียง 6 ประเทศ โดยมีสมาชิกเพิ่มขึ้นในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ข้อมูลเมื่อ 2020[update] มีรัฐสมาชิกถึง 22 ประเทศ:
และ 6 รัฐสังเกตการณ์ (หมายเหตุ: รัฐสังเกตการณ์ข้างล่างได้รับเชิญเข้าร่วมการประชุมของสันนิบาติอาหรับ แต่ไม่มีสิทธิลงคะแนน):
อ้างอิง
แก้- ↑ "World Population Prospects - Population Division - United Nations". population.un.org.
- ↑ "Report for Selected Countries and Subjects". IMF.
- ↑ "Arab League". The Columbia Encyclopedia. 2013.
- ↑ "Pact of the League of Arab States, 22 March 1945". The Avalon Project. Yale Law School. 1998. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2008. สืบค้นเมื่อ 15 July 2012.
- ↑ Barnett, Michael; Solingen, Etel (2007), Johnston, Alastair Iain; Acharya, Amitav (บ.ก.), "Designed to fail or failure of design? The origins and legacy of the Arab League", Crafting Cooperation: Regional International Institutions in Comparative Perspective, Cambridge University Press, pp. 180–220, doi:10.1017/cbo9780511491436.006, ISBN 978-0-521-69942-6
- ↑ "Armenia invited as observer for Arab League". Azad Hye. 19 January 2005. สืบค้นเมื่อ 20 May 2014.
- ↑ "Brazil must be a facilitator in the Middle East, says VP". Brazil-Arab News Agency. 14 August 2019. สืบค้นเมื่อ 10 April 2020.
- ↑ "Nile dam still raging, despite global pause for COVID-19". The Africa Report. 8 April 2020.
- ↑ "India and the Arab League: Walking the Trade Talk". thediplomat.com. 21 December 2014.
- ↑ "Arab League Fast Facts". CNN.com. 30 July 2013.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- (ในภาษาอาหรับ) The League of Arab States (เว็บไซต์ทางการ).
- (ในภาษาอังกฤษ) League of Arab States Office เก็บถาวร 2021-12-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน in Washington D.C. – USA
- The League of Arab States at Al-Bab.com
- The Arab League at Council on Foreign Relations
- Profile: Arab League, BBC News, updated 9 August 2011
- Arab League Summit 2013 เก็บถาวร 2022-03-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน in Qatar (ในภาษาอังกฤษ)
- Arab Turk Conference and Expo at Bursa
- แม่แบบ:JPosttopic
- สันนิบาตอาหรับ ข่าวสารและความเห็นที่ผ่านการรวบรวมในเดอะนิวยอร์กไทมส์