วรนาถ อภิจารี
พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กอู๊ด อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด
พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี | |
---|---|
ผู้บัญชาการทหารอากาศ | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2532 | |
ก่อนหน้า | พลอากาศเอก ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ |
ถัดไป | พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล |
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | |
ดำรงตำแหน่ง 1 สิงหาคม พ.ศ. 2535 – 30 กันยายน พ.ศ. 2537 | |
ก่อนหน้า | พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล |
ถัดไป | พลเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 |
เสียชีวิต | 27 กันยายน พ.ศ. 2558 (81 ปี) |
คู่สมรส | คุณหญิงพอใจ อภิจารี |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ไทย |
ประจำการ | 2530-2532 (กองทัพอากาศไทย) 2535-2537 (กองบัญชาการทหารสูงสุด) |
ยศ | พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก |
บังคับบัญชา | กองทัพอากาศไทย กองบัญชาการทหารสูงสุด |
ประวัติ
แก้พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 สมรสกับ คุณหญิงพอใจ อภิจารี
การศึกษา
แก้การทำงาน
แก้- นักบินประจำกอง
- ครูการบิน ฝูงฝึกขั้นต้น กองฝึก รร.การบิน
- ผู้บังคับการกองบิน 1 ฝูง 12
- รองผบ.กองฝึก รร.การบิน
- ผบ.กองบิน1 ฝูง 13
- รองผบ.กองบิน1
- เสนาธิการกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ
- รองเจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ
- เจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ
- รองเสนาธิการทหารอากาศ
- ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ
- ผู้บัญชาการทหารอากาศ
- ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ถึงแก่อนิจกรรม
แก้ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2558 สิริอายุได้ 81 ปี[1]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
แก้- พ.ศ. 2531 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[2]
- พ.ศ. 2530 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[3]
- พ.ศ. 2536 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายหน้า)[4]
- พ.ศ. 2531 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 1 (ส.ช.)[5]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[6]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[7]
- พ.ศ. 2530 – เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1[8]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)[9]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ กองทัพอากาศไทย เฟซบุก
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๕ ตอนที่ ๒๐๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๔๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓, ๑ ธันวาคม ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๕๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๓ พฤษภาคม ๒๕๓๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๐๕ ตอนที่ ๒๓๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๘๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๓, ๓ ตุลาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๐๔๓, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง พระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี ประจำปี ๒๕๓๐, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๔๖ หน้า ๘๑๙๕, ๑ ธันวาคม ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๑๖๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓, ๒๐ กันยายน ๒๕๓๔
- ↑ PRESIDENT ONG TENG CHEONG WITH THE SUPREME COMMANDER OF THE ROYAL THAI ARMED FORCES AIR CHIEF MARSHAL VORANAT APICHAREE AFTER THE CONFERMENT OF THE DISTINGUISHED SERVICE ORDER (MILITARY) IN THE ISTANA