รายชื่อเขตการปกครองของประเทศจีนเรียงตามดัชนีการพัฒนามนุษย์
นี่คือรายชื่อของเขตปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยรวมมณฑลทั้งหมด เขตปกครองตนเอง เทศบาลนคร และเขตบริหารพิเศษ เรียงตามดัชนีการพัฒนามนุษย์ โดยคู่ขนานกับ สาธารณรัฐจีน โดยตัวเลขดัชนีการพัฒนามนุษย์ของปี 2561 และ 2562 สำหรับเขตปกครองต่าง ๆ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีน มาจากดัชนีการพัฒนามนุษย์ส่วนภูมิภาค ซึ่งเผยแพร่ฐานข้อมูลนี้โดยมหาวิทยาลัยรัดเบาด์ไนเมเคิน การรายงานข้อมูลนี้จะไม่ครอบคลุมมาเก๊า ซึ่่งเป็นเขตบริหารพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่จะรายงานเฉพาะเขตการปกครองของจีนแผ่นดินใหญ่เท่านั้นซึ่งได้รับการจัดอันดับ ในลำดับจะเป็นตัวเลขค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์แต่ละเขตการปกครองและค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์โดยเฉลี่ยของประเทศจีนซึ่งให้ข้อมูลโดยสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ รายงานการดัชนีพัฒนามนุษย์จะมีรายงานสำหรับแผ่นดินใหญ่เท่านั้น
รายชื่อเขตบริหารตามดัชนีการพัฒนามนุษย์
แก้ฐานข้อมูลดัชนีการพัฒนามนุษย์แต่ละเขตการปกครอง (ข้อมูลปี 2562)
แก้อันดับที่ | เขตการปกครอง / ค่าเฉลี่ยของประเทศ | ดัชนีการพัฒนามนุษย์[1][2][3] | ประเทศที่เปรียบเทียบได้[2][a] |
---|---|---|---|
การพัฒนาสูงมาก | |||
– | ฮ่องกง[b] | 0.949 | ไอซ์แลนด์ |
– | มาเก๊า[b] | 0.922[c] | ออสเตรีย |
– | ไต้หวัน[d] | 0.916[e] | ลักเซมเบิร์ก |
1 | ปักกิ่ง | 0.904 | สเปน |
2 | เซี่ยงไฮ้ | 0.873 | โปแลนด์ |
3 | เทียนจิน | 0.838 | บรูไน |
4 | เจียงซู | 0.803 | มอริเชียส |
การพัฒนาสูง | |||
5 | เจ้อเจียง | 0.795 | แอลเบเนีย |
6 | กวางตุ้ง | 0.793 | |
7 | เหลียวหนิง | 0.774 | มาซิโดเนียเหนือ |
8 | มองโกเลียใน | 0.771 | |
9 | ฝูเจี้ยน | 0.769 | โคลอมเบีย |
เหอเป่ย์ | 0.769 | ||
11 | ฉงชิ่ง | 0.768 | |
12 | ไห่หนาน | 0.763 | บราซิล |
13 | ซานซี | 0.762 | |
– | จีน (ค่าเฉลี่ย)[f] | 0.761 | |
14 | ชานตง | 0.759 | เอกวาดอร์ |
15 | หูหนาน | 0.755 | อาเซอร์ไบจาน |
16 | ซานซี | 0.752 | มอลโดวา |
17 | จี๋หลิน | 0.745 | เลบานอน |
18 | เหอหนาน | 0.742 | ดอมินีกา |
19 | เจียงซี | 0.741 | |
20 | อานฮุย | 0.738 | เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ |
เหอเป่ย์ | 0.738 | ||
22 | เฮย์หลงเจียง | 0.737 | มองโกเลีย |
23 | เสฉวน | 0.734 | จาเมกา |
24 | ซินเจียงอุยกูร์ | 0.732 | |
25 | กวางซี | 0.728 | ปารากวัย |
หนิงเซี่ยหุย | 0.728 | ||
การพัฒนาปานกลาง | |||
27 | ยูนนาน | 0.691 | คีร์กีซสถาน |
28 | ชิงไห่ | 0.689 | โมร็อกโก |
29 | กานซู | 0.687 | |
30 | กุ้ยโจว | 0.685 | |
31 | ทิเบต | 0.608 | วานูวาตู |
หมายเหตุ
- ↑ เปรียบเทียบตามชุดข้อมูล แต่ไม่ได้ระบุในแหล่งข้อมูลต้นฉบับ
- ↑ 2.0 2.1 ฮ่องกงและมาเก๊าเป็นเขตปกครองพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีน
- ↑ ดัชนีการพัฒนามนุษย์ของมาเก๊าไม่ได้รวมอยู่ในฐานข้อมูลของฐานข้อมูลดัชนีการพัฒนามนุษย์ของภูมิภาค (SHDI) หรือรายงานประจำปีของสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ แต่ตามรายงานประจำปี 2564 ซึ่งเผยแพร่โดยบริการสถิติและสำมะโนของรัฐบาลเขตปกครองพิเศษมาเก๊า สำหรับดัชนีการพัฒนามนุษย์ของมาเก๊าจะอยู่ที่ 0.922 ในปี 2562[4]
- ↑ ไต้หวันอยู่ภายใต้การปกครองที่แยกออกจากกันโดยสาธารณรัฐจีน ซึ่งเป็นรัฐอิสระโดยพฤตินัยตั้งแต่ ปี 2493 แต่ถูกอ้างสิทธิ์โดยสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐจีนยังอ้างสิทธิ์ว่าจีนแผ่นดินใหญ่ยังเป็นอาณาเขตตามรัฐธรรมนูญ[5]
- ↑ ในฐานข้อมูลของดัชนีการพัฒนามนุษย์ส่วนภูมิภาคในปี 2561 ซึ่งดัชนีการพัฒนามนุษย์ของเขตการปกครองระดับแรกทุกแห่งของจีน (ยกเว้นมาเก๊า) ที่ได้รับนั้น ไต้หวันมีดัชนีการพัฒนามนุษย์อยู่ที่ 0.880[6]อย่างไรก็ตาม ฐานข้อมูลดัชนีการพัฒนามนุษย์สำหรับข้อมูลปี 2562 (ซึ่งเผยแพร่ปี 2564) ไต้หวันและฮ่องกงจะไม่รวมอยู่ในฐานข้อมูลของดัชนีการพัฒนามนุษย์ส่วนภูมิภาคระหว่างหน่วยงานของจีนอีกต่อไป[1] ในทางตรงกันข้าม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ที่เผยแพร่โดยสำนักสถิติของไต้หวันในรายงานปี 2562 และ 2563 แสดงเป็น 0.911 ในปี 2561 และ 0.916 ในปี 2562 ตามลำดับ[7][8] ซึ่งสาเหตุของความคลาดเคลื่อนเกิดจากการขาดข้อมูลระดับประเทศในฐานข้อมูลของสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติของไต้หวัน SHDI อ้างว่าการรวบรวมข้อมูลดัชนีการพัฒนามนุษย์สำหรับไต้หวันนั้นมาจากหน่วยงานอธิบดีงบประมาณ การบัญชี และสถิติของไต้หวัน[9]ในเฉพาะตารางนี้จะใช้แหล่งข้อมูลนี้เป็นข้อมูลหลัก
- ↑ ค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์นี้เจาะจงเฉพาะจีนแผ่นดินใหญ่เท่านั้น[10]
แนวโน้ม
แก้ระดับ | ||||
---|---|---|---|---|
การพัฒนาสูงมาก 0.900 ขึ้นไป
0.850–0.899
0.800–0.849
|
การพัฒนาสูง 0.750–0.799
0.700–0.749
|
การพัฒนาปานกลาง 0.650–0.699
0.600–0.649
0.550–0.599
|
ไม่มีข้อมูล
|
-
ข้อมูลปี 2557
-
ข้อมูลปี 2553
ระดับ | ||||
---|---|---|---|---|
การพัฒนาสูงมาก 0.900–0.949
|
การพัฒนาสูง 0.850–0.899
0.800–0.849
|
การพัฒนาปานกลาง 0.750–0.799
0.700–0.749
0.650–0.699
0.600–0.649
0.550–0.599
0.500–0.549
|
การพัฒนาต่ำ 0.450–0.499
0.400–0.449
0.350–0.399
|
ไม่มีข้อมูล
|
-
ข้อมูลปี 2551
-
ข้อมูลปี 2548
-
ข้อมูลปี 2546
-
ข้อมูลปี 2542
-
ข้อมูลปี 2540
-
ข้อมูลปี 2538
-
ข้อมูลปี 2533
-
ข้อมูลปี 2525
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "Human Development Indices (5.0)- China". Global Data Lab. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
- ↑ 2.0 2.1 Permanyer, Iñaki; Smits, Jeroen (2019-03-07). "The Subnational Human Development Database". Scientific Data (ภาษาอังกฤษ). 6: 190038. doi:10.6084/m9.figshare.c.4353632.v1. PMC 6413757. PMID 30860498.
- ↑ Iñaki Permanyer; Smits, Jeroen (2019-03-12). "The Subnational Human Development Database". Scientific Data (ภาษาอังกฤษ). 6: 190038. Bibcode:2019NatSD...690038S. doi:10.1038/sdata.2019.38. ISSN 2052-4463. PMC 6413757. PMID 30860498.
- ↑ "Macau in Figures, 2021" (ภาษาอังกฤษ). 澳門統計暨普查局(DSEC). p. 4. สืบค้นเมื่อ 2021-06-09.
- ↑ "Taiwan Country Profile". World Affairs Journal (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-08-29.
- ↑ "GDL Area Database". Subnational Human Development Index (SHDI). สืบค้นเมื่อ 12 March 2021.
- ↑ "國情統計通報(第 019 號)" (PDF) (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, Taiwan (ROC). 4 February 2020. สืบค้นเมื่อ 26 January 2021.
- ↑ "國情統計通報(第 014 號)" (PDF) (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, Taiwan (ROC). 21 January 2021. สืบค้นเมื่อ 26 January 2021.
- ↑ Smits, J., Permanyer, I. (12 March 2019). "The Subnational Human Development Database. Sci Data 6, 190038". The Subnational Human Development Database. สืบค้นเมื่อ 11 March 2021.
{{cite web}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ "Human Development Report 2020: Reader's Guide". United Nation Development Program. 2020. สืบค้นเมื่อ 12 March 2021.