รางวัลฟาสต์แทร็กบนเวทีมิสเวิลด์

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

รางวัลฟาสต์แทร็กบนเวทีมิสเวิลด์นั้นเริ่มมีการประกวดขึ้นเมื่อปี 2546 [1] โดยผู้ที่ได้ฟราสแทร็กในรอบนั้นๆ จะได้สิทธิ์เข้ารอบบนเวทีมิสเวิลด์ในปีนั้นๆ ทันที

รางวัลฟาสต์แทร็ก แก้

ท็อปโมเดล แก้

  • มีการจัดประกวดในปี 2004, 2007–ปัจจุบัน
ปี ผู้ชนะ ประเทศ/ดินแดน รางวัลในการประกวด
2021 โอลิเวีย ยาเซ   โกตดิวัวร์ รองอันดับ 2
2019 นีอีกาชิ ดักลาส   ไนจีเรีย 5 คนสุดท้าย
2018 มาเอวา คูคเกอ   ฝรั่งเศส 12 คนสุดท้าย
2017 อูโกชิ ไอเฮซัว   ไนจีเรีย 15 คนสุดท้าย
2016 จิง กง   จีน 11 คนสุดท้าย
2015 มิเรอา ลาลากูนา   สเปน มิสเวิลด์ 2015
2014 ไอซีโดรา โบรอฟคานิน   บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
2013 เมแกน ยัง   ฟิลิปปินส์ มิสเวิลด์ 2013
2012 อาตอง เดมาช   ซูดานใต้ 7 คนสุดท้าย
2011 จานนา จูมาลิเยวา   คาซัคสถาน 15 คนสุดท้าย
2010 มาเรียนน์ บีร์เกดาล   นอร์เวย์ 7 คนสุดท้าย
2009 เพร์ลา เบลตรัน   เม็กซิโก รองอันดับ 1
2008 คเซเนีย ซุคิทโนวา   รัสเซีย มิสเวิลด์ 2008
2007 จาง จือหลิน   จีน มิสเวิลด์ 2007
2004 เยสสิกา รามิเรซ   เม็กซิโก 15 คนสุดท้าย

ตารางสรุปผลรางวัลฟาสต์แทร็กท็อปโมเดล แก้

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปีที่ชนะ
  ไนจีเรีย 2 2017, 2019
  จีน 2007, 2016
  เม็กซิโก 2004, 2009
  โกตดิวัวร์ 1 2021
  ฝรั่งเศส 2018
  สเปน 2015
  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2014
  ฟิลิปปินส์ 2013
  ซูดานใต้ 2012
  คาซัคสถาน 2011
  นอร์เวย์ 2010
  รัสเซีย 2008

ทาเลนต์ แก้

  • มีการจัดประกวดในปี 1978, 2001–ปัจจุบัน
ปี ผู้ชนะ ประเทศ/ดินแดน รางวัลในการประกวด
2021 เบิร์ต-อูจิน อานู   มองโกเลีย 40 คนสุดท้าย
2019 โทนี-แอนน์ ซิงห์   จาเมกา มิสเวิลด์ 2019
2018 คะนะโกะ ดะเตะ   ญี่ปุ่น 30 คนสุดท้าย
2017 มิเชลา กาลีอา   มอลตา 40 คนสุดท้าย
2016 บายาร์ตเซตเซก อัลแทนเจรัล   มองโกเลีย 11 คนสุดท้าย
2015 ลิซา พันช์   กายอานา 11 คนสุดท้าย
2014 เดวี เลียนา เซรีสตา   มาเลเซีย 25 คนสุดท้าย
2013 วาเนีย ลาริสซา   อินโดนีเซีย 10 คนสุดท้าย
2012 หยู เหวินเซียะ   จีน มิสเวิลด์ 2012
2011 กาเบรียลา พุลการ์   ชิลี 20 คนสุดท้าย
2010 เอ็มมา บริตต์ วอลด์รอน   ไอร์แลนด์ รองอันดับ 3
2009 ลีนา มา   แคนาดา รองอันดับ 4
มาเรียตู การ์กโบ   เซียร์ราลีโอน 16 คนสุดท้าย
2008 นาตาลี กริฟฟิธ   บาร์เบโดส 15 คนสุดท้าย
2007 อีเรเน ดีโวโมห์   กานา 16 คนสุดท้าย
2006 แคเธอรีน จีน มิลลิแกน   ไอร์แลนด์เหนือ 17 คนสุดท้าย
2005 คีชา คอนต์ส   หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ 15 คนสุดท้าย
2004 เชอร์เมน เจเรมี   แอนทีกาและบาร์บิวดา 15 คนสุดท้าย
2003 อีรินา โอแนชวีลี   จอร์เจีย 20 คนสุดท้าย
2002 รีเบกาห์ เรเวลล์   สหรัฐอเมริกา 10 คนสุดท้าย
2001 สเตฟานี เคช   บาร์เบโดส
1978 ลูเวตตี มอนซอน ฮัมมอนด์   ฟิลิปปินส์

ตารางสรุปผลรางวัลฟาสต์แทร็กทาเลนต์ แก้

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปีที่ชนะ
  มองโกเลีย 2 2016, 2021
  บาร์เบโดส 2001, 2008
  จาเมกา 1 2019
  ญี่ปุ่น 2018
  มอลตา 2017
  กายอานา 2015
  มาเลเซีย 2014
  อินโดนีเซีย 2013
  จีน 2012
  ชิลี 2011
  ไอร์แลนด์ 2010
  แคนาดา 2009
  เซียร์ราลีโอน 2009
  กานา 2007
  ไอร์แลนด์เหนือ 2006
  หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ 2005
  แอนทีกาและบาร์บิวดา 2004
  จอร์เจีย 2003
  สหรัฐอเมริกา 2002
  ฟิลิปปินส์ 1978

มิสสปอร์ต แก้

  • มีการจัดประกวดตั้งแต่ปี 2003–ปัจจุบัน เดิมใช่ชื่อมิสฟิทเน็ทแอนด์สปอร์ต
ปี ผู้ชนะ ประเทศ/ดินแดน รางวัลในการประกวด
2021 คาโรลินา บิดาเลส   เม็กซิโก 6 คนสุดท้าย
2019 ริกกียา แบรธเวต   หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน 40 คนสุดท้าย
2018 มาริซา บัตเลอร์   สหรัฐอเมริกา 30 คนสุดท้าย
2017 อาเลตซา มูเอเซส   สาธารณรัฐโดมินิกัน 40 คนสุดท้าย
2016 นาตาเลีย ชอร์ต   หมู่เกาะคุก 20 คนสุดท้าย
2015 สเตฟฟี แวน วิก   นามิเบีย
2014 คริสตา ฮาอาปาไลเนน   ฟินแลนด์ 25 คนสุดท้าย
2013 แจ็คเกอรีน สตีนบีก   เนเธอร์แลนด์ 20 คนสุดท้าย
2012 ซานนา จินเนดาล   สวีเดน 30 คนสุดท้าย
2011 มาเรียนลี เตยาดา   สาธารณรัฐโดมินิกัน
2010 ลอรี มูเร   ไอร์แลนด์เหนือ 25 คนสุดท้าย
2009 เอะรุซะ ซะซะกิ   ญี่ปุ่น 16 คนสุดท้าย
2008 อาเล็กซานดรา ไอวาร์สดอตตีร์   ไอซ์แลนด์ 15 คนสุดท้าย
2007 อาบิเกล แม็คคารี   สหรัฐอเมริกา 16 คนสุดท้าย
2006 มัลโกเซีย มายิวสกา   แคนาดา 17 คนสุดท้าย
2005   เอเชียแปซิฟิก
2004 เอมี กาย   เวลส์ 15 คนสุดท้าย
2003 นาซานิน อัฟซิน-แจม   แคนาดา รองอันดับ 1

ตารางสรุปผลรางวัลฟาสต์แทร็กมิสสปอร์ต แก้

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปีที่ชนะ
  สหรัฐอเมริกา 2 2007, 2018
  เม็กซิโก 1 2021
  หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน 2019
  สาธารณรัฐโดมินิกัน 2017
  หมู่เกาะคุก 2016
  นามิเบีย 2015
  ฟินแลนด์ 2014
  เนเธอร์แลนด์ 2013
  สวีเดน 2012
  สาธารณรัฐโดมินิกัน 2011
  ไอร์แลนด์เหนือ 2010
  ญี่ปุ่น 2009
  ไอซ์แลนด์ 2008
  แคนาดา 2006
  เอเชียแปซิฟิก 2005
  เวลส์ 2004
  แคนาดา 2003

บิวตีวิธอะเพอร์โพส แก้

  • มีการจัดประกวดตั้งแต่ปี 2001–ปัจจุบัน
ปี ผู้ชนะ ประเทศ/ดินแดน รางวัลในการประกวด
2021 ศรี สายนี   สหรัฐ รองอันดับ 1
เทรซี เปเรส   ฟิลิปปินส์ 13 คนสุดท้าย
เรเฮมา มุทาเมีย   อังกฤษ 40 คนสุดท้าย
ชารอน โอบารา   เคนยา 40 คนสุดท้าย
ชูดูฟฮาดโซ มูสีดา   แอฟริกาใต้ 40 คนสุดท้าย
2019 อานุชกา ชเรสตา   เนปาล 12 คนสุดท้าย
2018 ชรินคาลา คาติวาดา   เนปาล 12 คนสุดท้าย
2017 มานูชิ ชิลลา   อินเดีย มิสเวิลด์ 2017
อาชินต์ยา โฮลตี นีลเซน   อินโดนีเซีย 10 คนสุดท้าย
ไอดี แวน เฮียร์เดน   แอฟริกาใต้ 10 คนสุดท้าย
ลอรา เลห์มานน์   ฟิลิปปินส์ 40 คนสุดท้าย
โด มาย ลินห์   เวียดนาม 40 คนสุดท้าย
2016 นาตาชา แมนนูเอลลา   อินโดนีเซีย รองอันดับ 2
2015 มาเรีย ฮาร์ฟานติ   อินโดนีเซีย รองอันดับ 2
2014 จูเลีย กามา   บราซิล 11 คนสุดท้าย
ไอดาห์ งุมา   เคนยา 11 คนสุดท้าย
โคยัล รานา   อินเดีย 11 คนสุดท้าย
ราฟียา ฮูเซน   กายอานา 11 คนสุดท้าย
มาเรีย ราฮาเจง   อินโดนีเซีย 25 คนสุดท้าย
2013 ไอชานี ชเรสทา   เนปาล 10 คนสุดท้าย
2012 วานยา มิชรา   อินเดีย 7 คนสุดท้าย
2011 สเตฟาเนีย คารีคารี   กานา
อัชทริด เอลเลนา   อินโดนีเซีย 15 คนสุดท้าย
2010 นาตาซา เม็ตโต   เคนยา 25 คนสุดท้าย
2009 ปูจา โซปรา   อินเดีย 16 คนสุดท้าย
2008 กาเบรียลเล วัลก็อตต์   ตรินิแดดและโตเบโก รองอันดับ 2
2007 วาเลสกา ซาอับ   เอกวาดอร์ 16 คนสุดท้าย
กายี ซุง   ฮ่องกง 16 คนสุดท้าย
2006 ลามิซี เอ็มบิลลาห์   กานา 17 คนสุดท้าย
2005 โอ อึน-ยัง   เกาหลีใต้ 6 คนสุดท้าย
2004 โตโนยา ตอยลอย   จาเมกา
2003 เดนิซา โกลา   แอลเบเนีย
2002 โนซิโฟ ซาบานกู   เอสวาตีนี
2001 พีอาเรลลา โรดริเกซ[2]   คอสตาริกา

ตารางสรุปผลรางวัลฟาสต์แทร็กบิวตีวิธอะเพอร์โพส แก้

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปีที่ชนะ
  อินโดนีเซีย 5 2011, 2014, 2015, 2016, 2017
  อินเดีย 4 2009, 2012, 2014, 2017
  เคนยา 3 2010, 2014, 2021
  เนปาล 2013, 2018, 2019
  ฟิลิปปินส์ 2 2017, 2021
  แอฟริกาใต้ 2017, 2021
  กานา 2006, 2011
  อังกฤษ 1 2021
  สหรัฐ 2021
  เวียดนาม 2017
  บราซิล 2014
  กายอานา 2014
  ตรินิแดดและโตเบโก 2008
  เอกวาดอร์ 2007
  ฮ่องกง 2007
  เกาหลีใต้ 2005
  จาเมกา 2004
  แอลเบเนีย 2003
  เอสวาตีนี 2002
  คอสตาริกา 2001

มิสมัลติมีเดีย แก้

  • มีการจัดประกวดในปี 2012–ปัจจุบัน
ปี ผู้ชนะ ประเทศ/ดินแดน รางวัลในการประกวด
2021 โอลิเวีย ยาเซ   โกตดิวัวร์ รองอันดับ 2
2019 อานุชกา ชเรสตา   เนปาล 12 คนสุดท้าย
2018 ชรินคาลา คาติวาดา   เนปาล 12 คนสุดท้าย
2017 เอ็นก์ฮจิน เซวีนแดช   มองโกเลีย 15 คนสุดท้าย
2016 แคทรีโอนา เกรย์   ฟิลิปปินส์ 5 คนสุดท้าย
2015 ฮิลลารี ปารันเกา   ฟิลิปปินส์ 11 คนสุดท้าย
2014 อีลิซาเบธ ซาฟริต   สหรัฐอเมริกา รองอันดับ 2
2013 นาฟนีต ดีฮิลลอน   อินเดีย 20 คนสุดท้าย
2012 วานยา มิชรา   อินเดีย 7 คนสุดท้าย

ตารางสรุปผลรางวัลฟาสต์แทร็กมิสมัลติมีเดีย แก้

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปีที่ชนะ
  เนปาล 2 2018, 2019
  ฟิลิปปินส์ 2015, 2016
  อินเดีย 2012, 2013
  มองโกเลีย 1 2017
  สหรัฐอเมริกา 2014

พีเพิลชอยส์ แก้

  • มีการจัดประกวดในปี 2003 และ 2008–ปัจจุบัน
ปี ผู้ชนะ ประเทศ/ดินแดน รางวัลในการประกวด
2021 โด๋ ถิ ห่า   เวียดนาม 13 คนสุดท้าย
2018 พิชาภา ลิมศนุกาญจน์   ไทย รองอันดับ 1
2017 เอ็นก์ฮจิน เซวีนแดช   มองโกเลีย 15 คนสุดท้าย
2016 บายาร์ตเซตเซก อัลแทนจีเรล   มองโกเลีย 11 คนสุดท้าย
2015 ทราน ง็อก ลาน คัว   เวียดนาม 11 คนสุดท้าย
2014 นนทวรรณ ทองเหล็ง   ไทย 11 คนสุดท้าย
2013 มาราว คาร์บุช   ยิบรอลตาร์ 6 คนสุดท้าย
2008 ดูออง ลาย เทียน ตง [3]   เวียดนาม
2003 โอลีเวีย สตาทตัน   ออสเตรเลีย 10 คนสุดท้าย

ตารางสรุปผลรางวัลฟาสต์แทร็กพีเพิลชอยส์ แก้

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปีที่ชนะ
  เวียดนาม 3 2008, 2015, 2021
  ไทย 2 2014, 2018
  มองโกเลีย 2016, 2017
  ยิบรอลตาร์ 1 2013
  ออสเตรเลีย 2003

ออกแบบชุดเดรสยอดเยี่ยม แก้

ปี ผู้ชนะ ประเทศ/ดินแดน รางวัลในการประกวด
2021 ทารา ฮง   เกาหลี
2018 เหมา เพ่ยรุ่ย   จีน 30 คนสุดท้าย
ตูลิซา เคยี   แอฟริกาใต้ 30 คนสุดท้าย
2017 อาคินต์ยา โฮลเต นิลเซน   อินโดนีเซีย 10 คนสุดท้าย
2015 ทราน ง็อก ลาน คัว   เวียดนาม 11 คนสุดท้าย
2014 โคยัล รานา   อินเดีย 11 คนสุดท้าย
2013 มารีน ลอร์เพริน   ฝรั่งเศส รองอันดับ 1
2011 จีเซม การากา   ตุรกี
2010 มิฮิลานี เตเรรา   เฟรนช์พอลินีเชีย 25 คนสุดท้าย
2009 มาเรียตู คาร์กโบ   เซียร์ราลีโอน 16 คนสุดท้าย
2008 เลน ลินเดลล์   สหรัฐอเมริกา
2007 โช อึน-จู   เกาหลี
2006 อิวานา อีร์จิก   โครเอเชีย
2005 ฮานเด ซูบาซี   ตุรกี
2004 เอลเลน เพตรี   เบลเยียม
2003 คลาวเดีย เฮร์นันเดซ   เปรู 20 คนสุดท้าย
2002 อัซรา อาคิน   ตุรกี มิสเวิลด์ 2002
2001 ซอ ฮยอน-จิน   เกาหลี
2000 มาร์การิตา กราฟโซวา   คาซัคสถาน 5 คนสุดท้าย
1999 เจนนี เชอร์โวนีย์   อิสราเอล 5 คนสุดท้าย
1998 มาเรต ไซยา นูเซียเนน   ฟินแลนด์
1997 โซเฟีย โจเอลส์สัน   สวีเดน
1996 รานี โจแอน เจย์ราจ   อินเดีย รองอันดับ 3
1995 อานิกา มาร์ติโนวิค   โครเอเชีย รองอันดับ 1

ตารางสรุปผลรางวัลฟาสต์แทร็กออกแบบชุดเดรสยอดเยี่ยม แก้

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปีที่ชนะ
  เกาหลี 3 2001, 2007, 2021
  ตุรกี 2002, 2005, 2011
  อินเดีย 2 1996, 2014
  เกาหลีใต้ 2001, 2007
  โครเอเชีย 1995, 2006
  จีน 1 2018
  แอฟริกาใต้ 2018
  อินโดนีเซีย 2017
  เวียดนาม 2015
  ฝรั่งเศส 2013
  เฟรนช์พอลินีเชีย 2010
  เซียร์ราลีโอน 2009
  สหรัฐอเมริกา 2008
  เบลเยียม 2004
  เปรู 2003
  คาซัคสถาน 2000
  อิสราเอล 1999
  ฟินแลนด์ 1998
  สวีเดน 1997

ดูเพิ่ม แก้

แหล่งที่มา แก้

อ้างอิง แก้

  1. "miss world". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-23. สืบค้นเมื่อ 2010-04-08.
  2. มิสเวิลด์ 2001
  3. ในปีนั้น ดูออง ลาย เทียน ตง ไม่สามารถผ่านเข้ารอบบนเวทีมิสเวิลด์ 2551 ได้เพราะรางวัล ขวัญใจประชาชน ได้ประกาศหลังจากประกาศผลผู้เข้ารอบเข้ารอบสุดท้ายแล้ว